ศักยภาพในการจัดการท่องเทยี่ วโดยชุมชนของหมู่ บ้านชายแดนไทย-ลาว จังหวดัอบุ ลราชธานีและแขวงจ าปาสัก สปป.ลาว
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาศกัยภาพในการจดัการท่องเที่ยวโดยชุมชนของหมู่บา้นชายแดนไทย-ลาวมี
วตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาศกัยภาพในการจดัการท่องเที่ยวโดยชุมชนของหมู่บา้นชายแดนไทย-ลาวของ
จังหวัดอุบลราชธานีประเทศไทยและแขวงจ าปาสักสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผใู้หข้อ้ มูลสา คญั ที่คดัเลือกมาแบบเจาะจงประกอบดว้ยชาวบา้นผนู้ า ชุมชนและ
ตวัแทนหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งไดแ้ก่หน่วยงานภาครัฐองคก์รปกครองส่วนทอ้งถิ่
นนกัวชิาการองคก์ร
เอกชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวขอ้งจากหมู่บา้นท่าลง้ตา บลหว้ยไผอ่ า เภอโขงเจียมจงัหวดั
อุบลราชธานีและในบ้านสุละ-ดอนก่
ุมเมืองซะนะสมบูนแขวงจา ปาสักหมู่บา้นละ10คนรวม 20คน
ใชว้ธิีการสัมภาษณ์เชิงลึกในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใหต้อบแบบสา รวจตนเองในการจดัการ
ท่องเที่ยวของชุมชนกรณีที่ไม่สามารถอ่านแบบสา รวจไม่ไดผ้วู้จิยัจะอ่านใหฟ้ ังแลว้ให้ผนู้้
นั ตอบ
คา ถามโดยมีการบนั ทึกเสียงและมีผชู้่วยนกัวจิยัจดคา ตอบนอกจากน้ียงัใชว้ธิีการสังเกตแบบมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ชุมชนจดัข้ึนการวเิคราะห์ขอ้ มูลใชอ้งคป์ ระกอบศกัยภาพในการ
จดัการท่องเที่ยวโดยชุมชน 3 ดา้นคือ(1) ดา้นทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติและทาง
วฒั นธรรม (2) ดา้นองคก์รและการจดัการและ(3) ดา้นกิจกรรมการเรียนรู้เป็นกรอบเน้
ือหาผล
การศึกษาพบวา่ จากการศึกษาศกัยภาพในการจดัการท่องเที่ยวโดยชุมชนของหมู่บา้นชายแดนไทย-
ลาวจงัหวดัอุบลราชธานีและแขวงจา ปาสักพบวา่ หมู่บา้นท้
งัสองแห่งมีทรัพยากรการท่องเที่ยวทาง
ธรรมชาติและทางวฒั นธรรมคลา้ยคลึงกนั เพราะสภาพภูมิประเทศที่ต้
งัอยรู่ ิมฝั่
งแม่น้
า โขงและมี
วฒั นธรรมที่ผสมกลมกลืนระหวา่ งวฒั นธรรมบรูของชาวบรูบา้นท่าลง้และฮีตสิบสองคองสิบสี่ของ
ลาวลุ่ม ดงัน้
นั ในการจดักิจกรรมให้แก่นกัท่องเที่ยวของชุมชนก็มีความใกลเ้คียงกนั ดว้ยกล่าวคือ มี
จุดใหศ้ึกษาเรียนรู้เกี่ยวกบั สภาพทางธรรมชาติที่เป็นภเูขาถ้
า ป่าไมแ้ละสายน้
า รวมท้
งัจุดเรียนรู้
เกี่ยวกบัวฒั นธรรมและวถิีชีวิตของชาวบา้นในชุมชน ส่วนดา้นการจดัองคก์รและการจดัการน้
นั
พบวา่ กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนของไทย(คือ บา้นท่าลง้อา เภอโขงเจียม จงัหวดัอุบลราชธานี) มี
ความพร้อมและมีระบบการจดัการที่ดีกวา่ กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนของสปป.ลาว (คือบ้านสุละดอนก่
ุม เมืองซะนะสมบูนแขวงจา ปาสัก)
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
เสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน.
กรมการท่องเที่ยว. (2556). ยุทธศาสตร์ การท่องเที่ยวไทย 2558 – 2560.
ค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2552จาก www.mots.go.th>ewt_ dl_ link
__________. (2553).คู่มือแนวทางการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน: ประเภทวัฒนธรรม ประเพณี
วิถีชีวิต.กรมการท่องเที่ยวกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.กรุงเทพฯ: พิมพค์ร้ังที่2
ตุลาคม 2553.
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2554).แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2554–2559.
กรุงเทพฯ:กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, เมษายน 2554.
พจนา สวนศรี. (2546).คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism
Handbook). โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ (Responsible Ecological Social
Tour-REST) กรุงเทพฯ: 2546.
พนัส ดอกบัว และคณะ. (2552). โครงการวิจัย“รูปแบบการมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์และ
ฟื้นฟูภาษาบรูโดยกลุ่มชาติพันธุ์บรู บ้านท่าล้งต าบลห้วยไผ่ อ าเภอโขงเจียม
จังหวัดอุบลราชธานี.” วารสารวจิยัเพื่อการพฒั นาเชิงพ้ืนที่ ปีที่2 ฉบบั ที่3.
ยุกติ มุกดาวิจิตร. (2549). “ปลดสายเดี่ยวภูมิ (ประวัติ) ศาสตร์ ชาติพันธุ์ในลุ่มน ้าโขง:
ผ่านกรอบประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์นิพนธ์แบบพาดข้าม : ในลุ่มน ้าโขง วิกฤติ
การพัฒนาและทางออก.กรุงเทพฯ:
ชาญวิทย์เกษตรศิริและกมั ปนาท ภกัดีกูล, บรรณาธิการ. มูลนิธิโตโยตา้และมูลนิธิโครงการสร้าง
ต าราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์. ท่องเที่ยววิถีไทย 2558.”ค้นเมื่อ21 เมษายน 2559
จาก TATreviewMagazine.com-2015.
ไพฑูรย์ ทักทาย. (2558, ธันวาคม 24). พัฒนาการอ าเภอโขงเจียม. สัมภาษณ์
เหลาค า ขยันการ. (2559 เมษายน 9). ปราชญ์ชาวบ้านเกี่ยวกับต านานลุ่มน ้าโขง. สัมภาษณ์
สายสะหมอน สังทอง. (2560 เมษายน 15). นายบ้านสุละ แขวงจ าปาสัก. สัมภาษณ์
ASEAN Secretariat. (2011). ASEAN Tourism Strategic Plan 2011 – 2015. Jakarta: Indonesia.
The ASEAN Secretariat.