ศึกษาและพัฒนารูปแบบนวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษอย่างมีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มศักยภาพของบุคลากรสู่สากล:กรณีศึกษาบุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัย
Main Article Content
บทคัดย่อ
วตัถุประสงคข์องการวจิยัคร้ังน้ีคือ1) เพื่อศึกษาความต้องการใช้ภาษาอังกฤษของบุคลากร
สายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบนวัตกรรมการสื่อสาร
ภาษาองักฤษอยา่ งมีส่วนร่วมสา หรับบุคลากรสายสนบั สนุน และ3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อ
รูปแบบนวตักรรมการสื่อสารภาษาองักฤษสา หรบั บุคลากรสายสนบั สนุนที่พฒั นาข้ึน ประชากรคือ
บุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรี จ านวน 359 คน กลุ่มตวัอยา่ งประกอบดว้ย
บุคลากรสายสนับสนุน จ านวน 120 คน คดัเลือกกลุ่มตวัอยา่ งโดยใชว้ธิีการเลือกแบบเจาะจง
เครื่องมือที่ใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลไดแ้ก่แบบสอบถาม แบบบนั ทึกการสนทนากลุ่ม รูปแบบ
นวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษ แบบประเมินนวัตกรรม และ แบบสอบถามความพึงพอใจ
วเิคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณโดยใชส้ถิติพรรณนาคือค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ส่วนขอ้ มูลเชิงคุณภาพใชก้ารวเิคราะห์เน้
ือหาผลการวิจยัพบวา่ 1) บุคลากรสายสนับสนุนของ
มหาวทิยาลยัราชภฏั บุรีรัมยต์อ้งการนวตักรรมการสื่อสารภาษาองักฤษที่เป็นหนงัสือเล่มเล็กอยใู่ น
ระดับมากที่สุด ดว้ยค่าเฉลี่ย 4.59 และตามดว้ยซีดีเสียงอยใู่ นระดบั มากที่สุดเช่นกนั ดว้ยค่าเฉลี่ย 4.54
และวดิีโอเทป อยใู่ นระดบั มาก ดว้ยค่าเฉลี่ย3.82 ตามล าดับ 2) กลุ่มตวัอยา่ งตอ้งการหวัขอ
ภาษาองักฤษตามหนา้ที่การงานและความรับผดิชอบของแต่ละคน เช่น การขอความช่วยเหลือ การ
โทรศัพท์ และ การกล่าวขอบคุณและการกล่าวลา เป็ นต้น 3) ด้านการประเมินนวัตกรรมการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษ ผู้เชี่ยวชาญประเมินนวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษโดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก
ดว้ยค่าเฉลี่ย4.34 เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้น พบวา่ ดา้นเน้
ือหาอยใู่ นระดบั มาก ดว้ยค่าเฉลี่ย4.38 ตาม
ดว้ยดา้นซีดีเสียงภาษาองักฤษอยใู่ นระดบั มาก ดว้ยค่าเฉลี่ย4.34 และดา้นรูปเล่ม อยใู่ นระดบั มาก
เช่นกนั ดว้ยค่าเฉลี่ย4.25 ตามล าดับ 4) ดา้นความพึงพอใจต่อนวตักรรมการสื่อสารภาษาองักฤษ
บุคลากรสายสนบั สนุนมีความพึงพอใจต่อนวตักรรมการสื่อสารภาษาองักฤษโดยภาพรวมอยใู่ น
ระดบั มากที่สุด ดว้ยค่าเฉลี่ย 4.53เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้น พบวา่ ดา้นรูปเล่ม อยใู่ นระดบั มากที่สุด
ดว้ยค่าเฉลี่ย4.62 ตามดว้ยดา้นเน้
ือหาอยใู่ นระดบั มากที่สุดเช่นกนั ดว้ยค่าเฉลี่ย 4.53 และด้านซีดี
เสียงภาษาองักฤษ อยใู่ นระดบั มาก ดว้ยค่าเฉลี่ย4.44 ตามล าดับ
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
ดรุณี โยธิมาศ (2558). ศึกษาและพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวส าหรับ
บุคลากรด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่ปราสาทเมืองต ่า อ าเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์.
(รายงานผลการวิจัย). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ณรงคฤ์ ทธ์ิโสภา. (2550). ส ารวจความต้องการพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการท่องเที่ยวใน
จังหวัดมหาสารคาม ขอนแก่น ร้ อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).
มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ัทมา สุวรรณเทศ. (2555). การสร้างคู่มือภาษาองักฤษเบ้ืองตน้ สา หรับผปู้ระกอบการโฮมสเตยบ์ า้น
นาทุ่ม-หนามแท่งอา เภอด่านซา้ยจงัหวดัเลย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 3(2), หน้า 139-149.
ปราณี กุลละวณิชย์ และสุวาณี สุรเสียงสังข์. (2549). การศึกษาการจัดการเรียนการสอน
ภาษาต่างประเทศและความต้องการภาษาต่างประเทศในภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาค
ตะวันออก (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการนโยบายการเรียนการสอน
ภาษาต่างประเทศของไทย). ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ยานุมาศ แสงใส. (2547). ภาษาอังกฤษส าหรับพนักงานขับรถมหาวิทยาลัยขอนแก่น: การวิเคราะห์
ความต้องการและแนวทางในการสร้ างรายวิชาภาษาอังกฤษ (วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบณั ฑิต).ขอนแก่น: มหาวทิยาลยัขอนแก่น.
สาโรช โศภีรักข์. (2546). นวัตกรรมการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็ นส าคัญ. กรุงเทพฯ: บุ๊ค พอยท์.
สุนนั ทา แกว้พนัธ์ช่วง. (2553). การพัฒนานวัตกรรมท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมความสามารถการใช้
ภาษาอังกฤษส าหรับบุคลากรท่องเที่ยวประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน
ลาว(วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
อรดา โอภาสรัตนากร ชไมพร พุทธรัตน์ และทิพวรรณ ทองขุนดา. (2549).
ความตอ้งการของประชาชนบา้นคิรีวงในการเรียนภาษาองักฤษเพื่อธุรกิจท่องเที่ยว. วารสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 1(2), หน้า 111-119.
อัครพนท์เน้ือไมห้อม. (2558).ศึกษาและพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการ
ท่องเที่ยวส าหรับบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ที่ปราสาทพนมรุ้ ง อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดบุรีรัมย์(รายงานผลการวิจัย). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
________. (2558). ศึกษาและพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว
สำหรับยุวมัคคุเทศก์ที่ปราสาทเมืองต ่า อ าเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์(รายงานผล การวิจัย). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.