คุณค่าอัตลักษณ์ของผ้ามัดหมี่ฟื้นเมืองของจังหวัดชัยภูมิ

Main Article Content

ประภาศรี ถนอมธรรม

บทคัดย่อ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าอตัลกัษณ์และเพื่อเป็ นข้อเสนอแนะแนวทางใน
การสืบสานภูมิปัญญาการทอผ้าไหมมัดหมี่พ้ืนเมืองกลุ่มเป้าหมายคือกลุ่มผผู้ลิตผา้ไหมมดัหมี่
พ้ืนเมืองในเขตจงัหวดัชยัภูมิและผรูู้้หรือปราชญด์ า้นการทอผา้ไหม โดยการเลือกแบบเจาะจง
เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth interviews)และแบบสนทนากลุ่มยอ่ ย(Small focus
group discussion) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาผลการวจิยัดา้นการศึกษาคุณค่าอตัลกัษณ์พบวา่
1. ภูมิปัญญาการทอผา้ไหมมดัหมี่ลายอตัลกัษณ์เกิดจากคติความเชื่อค่านิยม ขนบธรรมเนียม
ประเพณีตลอดจนวสั ดุเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใชใ้นการทอผา้ไหมมดัหมี่ถูกกลนั่ กรองออกมาเป็น
ภูมิปัญญาในดา้นการปลูกหม่อนเล้ียงไหม การสาวไหม วิธีการลอกลายวธิีการมดัลายวธิีการมดั
ยอ้ม และวธิีการทอผา้ไหมมดัหมี่พบวา่ ลายผา้ไหมที่เป็นลายอตัลกัษณ์เกิดจากการนา ลายขอนารี
และลายหมี่คนั่ ไปประยกุ ตผ์ สมผสานกบัลายอื่น และลายผา้ไหมที่เป็นลายอตัลกัษณ์ของจงัหวดั
ชัยภูมิมี 17 ลาย คือ 1) ลายขอนารี 2)ลายหมี่คนั่ ขอนารี3)ลายหมี่คนั่ ขอนอ้ย4)ลายหมี่คนั่ หมี่ขอ้
5) ลายโคมห้า 6) ลายโคมเจ็ด 7) ลายโคมเกา้ 8)ลายขอการบิน 9)ลายขอสลับ 10)ลายตะขอ 11)ลาย
หมี่คนั่ กระเบ้ือง 12)ลายขาเปี ย 13)ลายขอแง่น 14)ลายด่างแห 15) ลายแมงมุม 16)ลายฟองน้า
17) ลายขอนิยม ดา้นการยอ้มสีใชว้ตัถุดิบจากธรรมชาติส่วนใหญ่ เช่น สีเหลืองจากต้นเข สีแดงจากครั่ง เป็นตน้


ดา้นวธิีการทอส่วนใหญ่ทอดว้ยมือโดยใชก้ี่กระตุกใชเ้ส้นไหมบา้นเล้ียงเองและเส้น


ไหมที่ซ้
ือจากหมู่บา้นใกลเ้คียงการทอของกลุ่มมีลกัษณะการทอที่สม่า เสมอ ประโยชน์ของผาทอ ้
ลายอตัลกัษณ์นอกจากจะเป็นเครื่องนุ่งห่มที่สวยงามเป็นเอกลกัษณ์แลว้ยงัมีความภูมิใจที่ไดร้ักษา
ภูมิปัญญาการทอผา้ไหมมดัหมี่ลายอตัลกัษณ์ที่สืบทอดมาต้
งัแต่รุ่นปู่ยา่ ตายาย 2. ด้านข้อเสนอแนะในการสืบสานภูมิปัญญาการทอผา้ไหมมดัหมี่พ้ืนเมืองควรนา องคค์วามรู้ภูมิปัญญาการทอผ้าไหม
มดัหมี่ลายอตัลกัษณ์จดัทา เป็นคลงัขอ้ มูลเพื่อทา การเผยแพร่และพฒั นาเป็นหลกัสูตรในการเรียนรู้
รวมท้งัการพฒั นาเป็นศูนยส์ าธิตการเรียนรู้และจา หน่ายผลิตภณั ฑ์


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ประภาศรี ถนอมธรรม

นางสาวประภาศรี ถนอมธรรม
ปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (วทม.) สาขาเศรษฐศาสตร์เกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาจารยป์ ระจา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
โทรศัพท์: 081-6252495 อีเมล: [email protected]

References

กมลนัทธ์ ศรีจ้อย. (2556).การสังเคราะห์องค์ความรู้ ภูมิปัญญาทอผ้าบ้านเนินขามสู่การเรียนรู้ .ค้น
เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2558 จาก https://www.teched.rumtt.ac.th/wpcontent/uploads/2013/07/กมลนัทธ์-ศรีจ้อย. pdf

กนัยารัตน์พิพฒั น์วชัรา. (2546). ผ้าไหมมัดหมี่: หมู่บ้านผ้าไหมไทย. ชัยภูมิ: ชัยภูมิอิงค์เจ็ท.
คณะนักวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 2554.การศึกษาอัตลักษณ์และสร้ างแบรนด์ผ้าไหมกลุ่ม
จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง(กลุ่มจังหวัดนครชัยบุรินทร์ ). (รายงาน
ผลการวิจัย).ศรีสะเกษ : มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.

จินตนาลินโพธ์ิศาล. (2556).คุณค่าอตัลกัษณ์ศิลปวฒั นธรรมของทอ้งถิ่
นกบัการนา มาประยกุ ตเ์ป็นผลิตภณั ฑท์ อ้งถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเชิงศิลปวฒั นธรรม
กรณีศึกษากลุ่มทอผา้พ้ืนเมืองจงัหวดัสกลนคร.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 5(9)
: 1-16.

ใจภกัด์ิบุรพเจตนา. (2559).การประยกุ ตล์วดลายจากอตัลกัษณ์ผา้ทอตีนจกแม่แจ่มเพื่อออกแบบ
ผลิตภณั ฑส์ ิ่งทอเชิงวฒั นธรรมประเภทของตกแต่งบา้น. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. ฉบับ
ภาษาไทย สาขา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 9(3) : 1720-1738.

ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ. (2557). อัตลักษณ์ผ้าทอกะเหรี่ยงปกาเกอะญอ. วารสารการพัฒนาชุมชนและ
คุณภาพชีวิต. 2(1) : 113-121.

ทรงคุณ จันทจรและคณะ. (2552). คุณค่าอัตลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการน ามาประยุกต์เป็ น
ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคใต้. ค้นเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2557. จาก
https://www.ocac.go.th/userfiles/cultural%20identity-pdf.pdf

ทรงพล ต่วนเทศ. (2555). การศึกษาภูมิปัญญาการทอผ้าพื้นเมืองของคนไทยเชื้อสายลาวครั่งใน
จังหวัด สุพรรณบุรีชัยนาทและอุทัยธานี. ค้นเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2558. จาก
https://www.thesis.swu.ac.th/swuthesis/Art_Ed/Songphol_T.pdf

ทัศวรรณ ธิมาค าและคณะ. (2554). การจัดการความรู้ ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาเรื่อง การทอผ้ายก
ล าพูน. ค้นเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2558 จาก https://www.jiskku.com/wpcontent/uploads/2011/12/02-Tatsawan.pdf

บุญช่วย สุทธิรักษ์และอเนกพงศ์ ธรรมาธิวัฒน์. (2555). รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาครูในจังหวัด
เพชรบูรณ์ด้วยภูมิปัญญาการทอผ้ามุก. ค้นเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2557 จาก
https://research.pcru.ac.th/rdb/pro_data/files/5504002.pdf.

ประภาศรี ถนอมธรรมและคณะ. (2557). การรักษาอัตลักษณ์ในการทอผ้าไหมมัดหมี่ประดิษฐ์
พื้นเมืองของจังหวัดชัยภูมิ. (รายงานผลการวิจัย). ชัยภูมิ : มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.

ประภาศรี ถนอมธรรมและคณะ. (2561). คุณค่าอัตลักษณ์และการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของผ้า
ไหมมัดหมี่พื้นเมืองของจังหวัดชัยภูมิ. (รายงานผลการวิจัย). ชัยภูมิ : มหาวิทยาลัยราชภัฏ ชัยภูมิ.

สุจินดา เจียมศรีพงษ์ และปิ ยวัน เพชรหมี. (2560). การสร้างมูลค่าเพิ่
มของผลิตภณั ฑจ์ากภูมิปัญญา
ทอ้งถิ่น :กรณี ศึกษาผ้าทอโบราณ. วารสารเพื่อวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน(มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์). 10(4) : 62-85