ระบบเสียงภาษาไทยถิ่นโคราชในอำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบเสียงภาษาไทยถิ่
นโคราชในอา เภอขามสะแกแสง
จังหวัดนครราชสีมา 2 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาระบบเสียงสระ เสียงพยัญชนะ เสียงวรรณยุกต์
ภาษาไทยถิ่
นโคราชในอา เภอขามสะแกแสงจงัหวดันครราชสีมา 2) เพื่อจดัหมวดหมู่คา ภาษาไทยถิ่
น
โคราชในอ าเภอขามสะแกแสง จงัหวดันครราชสีมา ตามแนวทางสรีรสัทศาสตร์โดยเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากผู้บอกภาษาที่เป็ นเจ้าของภาษา และน าข้อมูลมาวิเคราะห์ตามทฤษฎีภาษาศาสตร์พรรณนา
(Descriptive Linguistics)ผลการวิจยัพบว่า มีหน่วยเสียงพยญั ชนะ 20 หน่วยเสียง , หน่วยเสียงสระ
เดี่ยว 18 หน่วยเสียง, หน่วยเสียงสระประสม 3 หน่วยเสียง, หน่วยเสียงวรรณยุกต์6 หน่วยเสียงการ
จดัหมวดหมู่คา ตามแนวสรีรสัทศาสตร์พบวา่ มี5 ลักษณะเสียง
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
เก็ดนี่ วลิเลี่ยม เจ. (2521). ค าส าหรับทดสอบเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยถิ่น . แปลโดย ธีรพันธ์ ล.
ทองค า. ม.ป.ท..
ขุนสุบงกชศึกษากร. (2521). ภาษาส าเนียงโคราช : ของดีโคราช. นครราชสีมา : ตราเสือการพิมพ์.
คุณช่วย ปิยวทิย.์(2532). ภาษาและคดีความเชื่อในต ารายาพื้นบ้านจากวัดบิง ต าบลโชคชัย จังหวัด
นครราชสีมา. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
จังหวัดนครราชสีมา, ส านักงาน. (2526). ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาคจังหวัดนครราชสีมา.
นครราชสีมา: นิวสมบูรณ์การพิมพ์.
จอมขวัญ ข าโคกสูง. (2554). ค าซ้อนในภาษาถิ่นโคราช . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ชลิตา รินทร์พรหม. (2520). ระบบหน่วยเสียงในภาษาถิ่นโคราช.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ชูชีพ เบียดนอก. (2532). การศึกษาเรื่องศัพท์ในภาษาถิ่นโคราช.กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณัฎฐา จุลพรหม. (2534). ค าลงท้ายในภาษาถิ่นโคราช.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ถาวร สุบงกช . (2526). ภาษาถิ่นโคราช: การศึกษาในเชิงวิเคราะห์เรื่องเสียงและความหมาย.
นครราชสีมา : สมบูรณ์อ๊อฟเซ็ทการพิมพ์.
ธีรพันธ์ จ. ทองค า. (2529) . วิจัยภาคสนามทางภาษาศาสตร์ . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นฤมล จันทรศุภวงศ์. (2528) . ค าลักษณะนามในภาษาไทยโคราชที่บ้านบึงทับปรางค์ ต าบลกระโทก อ าเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นฤมล ปิ ยวิทย์. (2546). ค าศัพท์ภาษาโคราช. นครราชสีมา : ประชาคมทอ้งถิ่น.
พระสิทธิศกัด์ิธมฺมทายาโท. (2557).ศึกษาระบบเสียงภาษาไทยถิ่นโคราชในอ าเภอขามสะแกแสง
จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2546). พจนานุกรมภาษาโคราช . นครราชสีมา : Sunprinting.
เรืองเดช ปันเขื่อนขัตย์. (2531). ภาษาถิ่นตระกูลไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย.
________ (2532). แบบทดสอบระบบเสียงวรรณยุกต์ภาษาถิ่น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิจินตน์ ภานุพงศ์. (2526). ภูมิศาสตร์ ค าศัพท์ในจังหวัดนครราชสีมาโครงการน าร่ อง. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรทัย เจือจันอัด. (2529). ระบบเสียงภาษาถิ่นยวนที่อ าเภอสีคิ้ว. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย