การพัฒนาทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 โดยใช้หนังสือส่งเสริมกาารอ่านภาษาอังกฤษชุดวิถีชีวิตเด็กไทยด้วย วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือและเเทคนิคการสอนอ่าน KWL-Plus
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยคร้ังน้ีมีความมุ่งหมาย (1) เพื่อศึกษาผลของการใช้หนังสือส่งเสริมการอ่าน
ภาษาองักฤษชุดวิถีชีวิตเด็กไทยดว้ยวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิคการสอนอ่าน KWL-Plus
ต่อการพฒั นาทกั ษะการอ่านภาษาองักฤษเพื่อความเขา้ใจของนกั เรียน (2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ของนกัเรียนที่มีต่อการใชว้ิธีการเรียนรู้ดงักล่าวในการพฒั นาทกั ษะการอ่านภาษาองักฤษเพื่อความ
เขา้ใจของนกั เรียน กลุ่มตวัอย่างไดแ้ก่ นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่6 โรงเรียนอนุบาลกนั ทรวิชัย
ตา บลโคกพระอา เภอกนั ทรวชิยั จงัหวดัมหาสารคาม ที่เรียนวชิาภาษาองักฤษพ้ืนฐาน 6 ในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2558 จ านวน 30 คน ซ่ึงไดม้าโดยวธิีการสุ่มตวัอยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Random
Sampling)ผลการวิจยัคร้ังน้ีสรุปไดว้่า (1) นกัเรียนที่ใช้หนงัสือส่งเสริมการอ่านภาษาองักฤษชุดวถิี
ชีวิตเด็กไทยดว้ยวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิคการสอนอ่าน KWL-Plus มีความสามารถด้าน
การอ่านภาษาองักฤษเพื่อความเข้าใจหลงัการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง โดยนักเรียนมีการพฒั นาทกั ษะการอ่านภาษาองักฤษเพื่อความเขา้ใจสูงข้ึนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2)
นกัเรียนมีความพึงพอใจต่อการพฒั นาการอ่านภาษาองักฤษเพื่อความเขา้ใจโดยใชห้ นงัสือส่งเสริม
การอ่านภาษาองักฤษชุดวิถีชีวิตเด็กไทยด้วยวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิคการสอนอ่าน
KWL-Plus อยใู่ นระดบั มากที่สุด
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่6.ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2559จาก
https://graduate.udru.ac.th/joomla/doc/graduate_journal_3_2.pdf
ฉวีวรรณ คูหาภินันท์. (2542). การอ่านและการส่งเสริมการอ่าน.กรุงเทพมหานคร:
ศิลปะบรรณาคาร.
นงนุช น้อยมะโน. (2558). การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยใช้วิธีการสอนแบบ
KWL-PLUS ของชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนทุ่งแสงทองพิทยาคม อ าเภอนางรอง จังหวัด
บุรีรัมย์. ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2559. จาก https://www.vcharkarn.com/vcafe/226784
แม้นมาส เชาวลิต. (2544). แนวทางการส่งเสริมการอ่าน (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร:
สา นกัพิมพบ์ รรณกิจ.
วชัรา เล่าเรียนดี. (2552). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการคิด. นครปฐม:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540). วิธีสอนภาษาอังกฤษ (พิมพค์ร้ังที่4). กรุงเทพมหานคร:จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สมุทร เซ็นเชาวนิช. (2542). เทคนิคการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ. กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องคก์ ารมหาชน). (2554).ระบบประกาศและรายงานผลสอบ
โอเน็ต. ค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2555. จาก
https://www.onetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/Login.aspx
Allen, E.D. & Vallette, R.M. (1976). Classroom techniques: Foreign language and English as a
second language. New York: Harcourt, Brace Jovanovich.
Carr, E., & Ogle, D.M. (1987). "A strategy for comprehension and summarization." Journal of
Reading, 30, 626-631.
Carrell, P.L. & Eistold, J.C. (1983). “Schema theory and ESL reading pedagogy,”TESOL
Quartery Finocchiaro.
Finocchiaro, Mary; &Brumfit, Christopher. (1983).The function notional approach: From theory
to practice. New York: Oxford University Press.
Mary & Brumfit, C. (1983). The function notional approach: From theory to practice. New York:
Oxford University Press.
Nelson, S. M., Gallagher, J. J. & Coleman, M. R. (1993). Cooperative learning from two different
perspectives. Roeper Review, 16, 117–121.Tsai, S. The effects of cooperative learning on
teaching English as a foreign Language to Senior High School Students. Master’s Thesis.
National Kaohsiung Normal University.