คำคุณศัพท ์ บอกลักษณะที่รับรู้ทางอายตนูทั้ง 6 ในสมัยสุโขทัย

Main Article Content

นนทิยา จันทร์เนตร์

บทคัดย่อ

การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดและลกั ษณะของคา คุณศพั ทบ์ อกลกั ษณะที่รับรู้
ทางอายตนะท้งั 6 ในสมยัสุโขทยั (พ.ศ. 1835 - พ.ศ.2079) โดยศึกษาจากเอกสารร้อยแกว ผลการวิจัย ้
พบวา่ สามารถแบ่งคา คุณศพั ทบ์ อกลกัษณะในสมยัสุโขทยัตามสมเด็จพระอรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจา้
ได้ 6 ชนิด คือ คำคุณศัพท์บอกลักษณะในสมัยสุโขทัย ชนิดที่รับรู้ทางอายตนะทางตา ค าคุณศัพท์
บอกลักษณะในสมัยสุโขทัย ชนิดที่รับรู้ทางอายตนะทางหู ค าคุณศัพท์บอกลักษณะในสมัยสุโขทัย
ชนิดที่รับรู้ทางอายตนะทางจมูก ค าคุณศัพท์บอกลักษณะในสมัยสุโขทัย ชนิดที่รับรู้ทางอายตนะทาง
ลิ้น คา คุณศพั ท์บอกลกั ษณะในสมยัสุโขทยั ชนิดที่รับรู้ทางอายตนะทางกาย และคา คุณศพั ท์บอก
ลักษณะในสมัยสุโขทัย ชนิดที่รับรู้ทางอายตนะทางใจเมื่อศึกษาลักษณะของค าคุณศัพท์บอกลักษณะ
ที่รับรู้ทางอายตนะท้ัง 6 ในสมัยสุโขทัย พบลักษณะของคา คุณศัพท์บอกลักษณะ 2 แบบ คือ
คา คุณศพั ท์บอกลกั ษณะที่รับรู้ทางอายตนะท้งั 6ลกั ษณะเป็นคา มูล และคา คุณศพั ท์บอกลกั ษณะที่
รับรู้ทางอายตนะท้งั 6ลกัษณะเป็นคำซ้อน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

นนทิยา จันทร์เนตร์

ดร. นนทิยา จันทร์เนตร์
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เลขที่ 340 ถนนสุรนารายณ์
ต าบลในเมือง อ าเภอเมือง
จังหวัดนครราชสีมา 30000
โทรสาร: 0-4424-4739 โทรศัพท์: 08-3727-3322 อีเมล: ch.nontiya@gmail.com

References

จตุพร ศิริสัมพันธ์ และคณะ. (2548). ประชุมจารึก ภาคที่ 8 จารึกสุโขทัย.กรุงเทพมหานคร:
กรมศิลปากร.

ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3. (2508). พระนคร: ส านักนายกรัฐมนตรี.
ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4. (2513). พระนคร: ส านักนายกรัฐมนตรี.
พญาลิไทย. (2551). ไตรภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่ วง (พิมพค์ร้ังที่13). กรุงเทพมหานคร:
องค์การค้าของคุรุสภา.

พระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฉบับหลวง. (ม.ป.ป.) พระสุตตันตปิ ฎก เล่มที่ 3 (Online).
http;//etipitaka.com/read?keyword=อายตนะ&language=thai&number=207&volume=11, 20 มกราคม 2558.
พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร. (2547). จารึกวัดพระคันธกุฎี. ใน โครงการฐานข้อมูลจารึกในประเทศ
ไทย (Online).

https://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_image_detail.4 php?id=639 , 2 0
มกราคม 2558.

มุกดา ศรียงศ์ และคณะ. (2539). จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค าแหง.

มูลนิธิพุทธโฆษณ์. (2557). พุทธวจน ฉบับที่ 2. ปทุมธานี : มูลนิธิพุทธโฆษณ์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 (พิมพค์ร้ังที่2).
กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

ราตรี ธันวารชร. (2551).การสร้ างค าในภาษาไทยสมัยอยุธยา: วิธีสร้ างค าประสม.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วธู ชูกิตติกุล. (2542).จิตวิทยา. เพชรบุรี: สถาบันราชภัฏเพชรบุรี.

วินัย พงศ์ศรีเพียร. (บรรณาธิการ). (2534). ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 7. กรุงเทพมหานคร: ส านัก
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี.

ศิริโสภาคย์ บูรพาเดชะ. (2528). จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิลปากร, กรม. (2504). เรื่องพระร่ วง เที่ยวเมืองพระร่ วง.กรุงเทพมหานคร:ศิลปาบรรณาคาร.
Dale, E. (1957). Auto-visual: Method in teaching (3rd ed.). New York: Dryden Press.
Gunstream, S. E. (2006). Anatomy & physiology with integrated study guide. (3rd ed.).
Boston: McGraw Hill Higher Education.