อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ความจนในภาษาไทย : กรณีศึกษาการใช้ภาษาไทยบนเว็บไซต์ของพันทิปดอทคอม

Main Article Content

ธนพล เอกพจน์

บทคัดย่อ

งานวิจยัน้ีมุ่งวิเคราะห์รูปคา อุปลกั ษณ์และอุปลกั ษณ์เชิงมโนทศัน์ของคา ว่า “ความจน” ใน
ภาษาไทยตามแนวคิดการศึกษาอุปลักษณ์ของ เลคอฟและจอห์นสัน (1980, 2003) โดยเก็บขอ้ มูลจาก
ทุกหมวดหมู่ห้องสนทนาใน “Search Engine Smart Office” บ นเว็บ ไ ซ ต์พันทิ ป ดอท คอม
(www.pantip.com) ผลการศึกษาพบรูปค าอุปลักษณ์ความจนจ านวน 119 รูปค า สะท้อนอุปลักษณ์
เชิงมโนทศัน์ของผูใ้ชภ้ าษาไทยที่เปรียบความจนเป็นสิ่งต่าง ๆ ใน 4 มโนทศัน์ไดแ้ก่ [ความจน คือ
ศัตรู] [ความจน คือ พ้ืนที่] [ความจน คือ วัตถุ] และ [ความจน คือ โรค] มโนทศัน์ดงักล่าวสะทอ้นให้
เห็นวา่ ผใู้ชภ้ าษามีระบบความคิดเชิงเปรียบเทียบในการทา ความเขา้ใจมโนทศัน์ที่ซบั ซอ้ นอยา่ งความ
จนดว้ยมโนทศัน์ที่เป็นรูปธรรม ซ่ึงหล่อหลอมจากประสบการณ์ในชีวิตประจา วนั ท้งัน้ีจากรูปคา อุป
ลกัษณ์ทา ใหเ้ห็นมุมมองของผใู้ชภ้ าษาไทยที่มีความคิดในเชิงลบต่อความจน โดยมองวา่ ความจนคือ
สิ่งที่ทา ให้ชีวิตไม่มีความสุขเป็นอุปสรรคขดัขวางการดา เนินชีวิต จึงต่างตอ้งการที่จะทา ให้ความจน
หมดหรือหายไปจากชีวิต อีกท้งัผลการศึกษายงัช้ีให้เห็นว่าความจนเป็นสิ่งที่ไม่คงทนหรืออยู่กบั
มนุษยไ์ม่ไดน้ าน


 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ธนพล เอกพจน์

นายธนพล เอกพจน์
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
เลขที่80 ถ.นครสวรรค์ อ.เมืองจ.มหาสารคาม 44000
โทรสาร: 043-712855 โทรศัพท์: 083-4178334 อีเมล: matomtuk@hotmail.com

References

ฉิน ตงตง,ธนานนั ท์ตรงดีและจางเสี่ยวเค่อ, (2553, พฤษภาคม – สิงหาคม). การวิเคราะห์
เปรียบต่างระหวา่ งหน่วยสร้างกริยาเรียง 2คา ในภาษาไทยและภาษาจีนกลาง. วารสาร
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม. 7(18): 56-62.

ชัชวดี ศรลัมพ์, (2548, มกราคม – มิถุนายน). อุปลักษณ์ตามแนวคิดของทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน. วารสารศิลปศาสตร์. 5(1): 1-16.
__________. (2550). รายงานวิจัยเรื่อง อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในนาฏยภาษา.กรุงเทพฯ :
คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เชิดชัยอุดมพันธ์. (2555). อุปลักษณ์เกี่ยวกับโรคในภาษาไทยถิ่นใต้. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ธนพล เอกพจน์. (2558). อุปลักษณ์ความทุกข์ในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตร
มหาบณั ฑิต สาขาวชิาภาษาไทย บณั ฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัขอนแก่น.

ัชนียญ์ ากลิ่
นน้
า หอม. (2551). อุปลักษณ์ที่นักการเมืองไทยใช้: การศึกษาตามแนว
อรรถศาสตร์ ปริชานและวัจนปฏิบัติศาสตร์ . วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎี
บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_________. (2556, มกราคม – มิถุนายน). อุปลักษณ์ความสุขในบล็อกไทย.วารสารสถาบัน
วัฒนธรรมและศิลปะ, 14(2): 132-138.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (พิมพค์ร้ังที่2).
กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
วฒุ ินนั ท์แกว้จนั ทร์เกตุ, (2555, กรกฎาคม-ธันวาคม). กิเลส: การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์
ในภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์. 19(2): 24-41.
วรวรรณา เพช็รกิจ. (2551). การศึกษาอุปลักษณ์เกี่ยวกับโรคมะเร็งในภาษาไทยตามแนว
ปริชานศาสตร์ และวัจนปฏิบัติศาสตร์ . วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภชัย ต๊ะวิชัย. (2549). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แสดงอารมณ์โกรธในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์
ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศิลปากร.
__________(2556, มกราคม-เมษายน). มโนทศัน์พ้ืนที่ในภาษาไทย:กรณีศึกษาคา วา่ ‘หลัง’ ที่
ปรากฏในเว็บไซต์พันทิปดอทคอม. วารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์. 6(1):
131-148.

สุรเชษฐ์พิชิตพงศเ์ผา่ . (2553).อุปลักษณ์ชีวิตในหนังสือแนะน าการด าเนินชีวิต: การศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับมโนทัศน์. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อมรา ประสิทธ์ิรัฐสินธุ์. (2549).กว่าจะเป็ นนักภาษาศาสตร์ .กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาศาสตร์
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัษฎาวุธ ไสยรส. (2558). มโนอุปลักษณ์ความเป็ นอีสานในบทเพลงลูกทุ่งอีสานร่ วมสมัย.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นันทนา วงษ์ไทย, (2555, มกราคม – มิถุนายน). อุปลกัษณ์เชิงมโนทศัน์เกี่ยวกบัความตายใน
ภาษาไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. 31(1): 43-64.

นววรรณ พันธุเมธา. (2555). คลังค า (พิมพค์ร้ังที่6).กรุงเทพฯ: อมรินทร์.น้าเพชรจินเลิศและสุภาพร พลายเล็ก, (2553, มกราคม – มิถุนายน). การศึกษาอุปลักษณ์เชิง
มโนทศัน์เกี่ยวกบัผหู้ ญิงในวรรณกรรมนิราศ. วารสารศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 10(1): 157-190.

ปิยภรณ์ อบแพทย์. (2552). อุปลักษณ์เกี่ยวกับชีวิตในหนังสือธรรมะ. วิทยานิพนธ์ปริญญา
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

มิรินดา้ บูรรุ่งโรจน์. (2548).อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับผู้หญิงในบทเพลงลูกทุ่งไทย.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อุษา พฤฒิชัยวิบูลย์. (2544). การศึกษาอุปลักษณ์เรื่องการเมืองในภาษาไทยตามแนว
อรรถศาสตร์ปริชาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Kövecses, Z. (2010). Metaphor: A Practical introduction (2nd ed.). Oxford : Oxford
University Press.

Lakoff, G. and Johnson, M. (1980). Metaphor we live by. Chicago and London : University
of Chicago Press._________.(2003). Metaphor we live by (2nd ed.).
. Chicago and London : University of Chicago Press.