พัฒนาการนามศัพท์ “ทนาย” ต้ังแต่สมยัอยุธยาจนถึงสมยัรัตนโกสินทร ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวจิยัน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาพฒั นาการนามศพั ท์“ทนาย” ต้
งัแต่สมยัอยธุ ยาจนถึง
สมยัรัตนโกสินทร์จากเอกสารร้อยแก้ว ประเภทสารคดีและพจนานุกรม ผลการวิจัยพบนามศัพท์
“ทนาย” ปรากฏในภาษาไทยจ านวน 6 ค า จ าแนกเป็ น 2 ด้านคือ ด้านค าและด้านความหมาย โดยด้าน
คา แบ่งเป็น 2 สมยัได้แก่สมยัอยุธยา พบจา นวน 4 คา ได้แก่ ทนาย ทนายคบ ทนายปืน ทนายเลือก
และสมัยรัตนโกสินทร์ พบจ านวน 2 คา คือ ทนายเรือน ทนายความ ส่วนดา้นความหมายพบนามศัพท์
“ทนาย” ที่มีการเปลี่ยนแปลงจา นวน 1คา คือคา ว่า ทนาย โดยปรากฏการเปลี่ยนแปลงในลกั ษณะ
ความหมายกวา้งออกในสมยัอยุธยา เดิมมีความหมายว่า เจา้พนกังานหรือเจา้หนา้ที่และผูร้ับใช้ขุน
นาง ต่อมามีความหมายเพิ่
มข้ึนในช่วงปลายสมยัอยุธยาคือ ตวัแทนของนายและสมยัรัตนโกสินทร์
พบการเปลี่ยนแปลงความหมายในลักษณะย้ายที่โดยเปลี่ยนจากความหมายเดิมที่ปรากฏในสมัย
อยธุ ยาไปมีความหมายวา่ ผวู้า่ ความแทน ซ่ึงเป็นความหมายของคา วา่ ทนายความ
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
เอกสารและหนังสือ). สัมภาษณ์.
คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม โบราณคดี ส านักนายกรัฐมนตรี.
(2510). ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1. ม.ป.ท.
จดหมายเหตุรัชกาลที่ 2จ.ศ. 1171 – 1173. (2513). พระนคร: มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์.
จอมเกลา้เจา้อยหู่ วั, พระบาทสมเด็จพระ. (2548). รวมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่องประชุมประกาศรัชกาลที่ 4. กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุ
สภา.
จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า. (2531). เกิดวังปารุสก์ สมัย
สมบูรณาญาสิทธิราชย์(พิมพค์ร้ังที่10).กรุงเทพฯ: พิษณุโลกการพิมพ.์
จุลทัศน์ พยาฆรานนท์. (2560, กุมภาพันธ์ 2). ราชบัณฑิต. สัมภาษณ์.
ดุษฎีพร ช านิโรคศานต์. (2526). ภาษาศาสตร์ เชิงประวัติและภาษาไทยเปรียบเทียบ. ม.ป.ท.
แดนบีช แบรดเลย์. (2514). หนังสืออักขราภิธานศรับท์= Dictionary of the Siamese
Language. พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.
ทวศีกัด์ิกออนนั ตกูล. (ม.ป.ป.) ความก้าวหน้าของอินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย. ค้นเมื่อ 4
พฤศจิกายน 2558 จากhttps://www.nectec.or.th/users/htk/milestones-th.html
น้
า ทิพย์ภิงคารวฒั น์. (2551). การเปลี่ยนแปลงของภาษา: ภาษาอังกฤษผ่านกาลเวลา (พิมพ์
คร้ังที่2). กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวชิาการคณะอกัษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ปราณี กุลละวณิชย์. (2548). การเปลี่ยนแปลงของภาษา. ใน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาภาษาไทย 3. (หน้า 429). นนทบุรี: ส านักพิมพ์หา
วิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2515). การใช้ภาษาร้ อยแก้วในภาษาไทยสมัยอยุธยา. วิทยานิพนธ์
ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.