การพัฒนาพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตยในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความน้ีเป็นการประมวลแนวคิดโครงสร้างทางสังคม พลเมืองการพฒั นาพลเมือง ตาม
ระบอบประชาธิปไตยในศตวรรษที่ 21แนวคิดทฤษฎีการพัฒนา แนวคิดการพัฒนาพลเมืองตาม
ระบอบประชาธิปไตย โดยมีวตัถุประสงค์เพื่อน าเสนอการศึกษาเกี่ยวกับการพฒั นาพลเมืองตาม
ระบอบประชาธิปไตยในศตวรรษที่ 21 ซึ่งประกอบด้วย 5 ประการ คือ 1) รับผิดชอบตัวเองและพึ่ง
ตัวเองได้2) เคารพหลักความเสมอภาค และสิทธิของผู้อื่น 3) เคารพความแตกต่าง 4) เคารพกติกา 5)
รับผิดชอบต่อสังคมและส่วนรวม และสามารถสร้างพลเมืองที่ดีมีคุณภาพได้ประเทศจะมี
ประชาธิปไตยที่เข้มแข็งมั่นคง และเป็นประชาธิปไตยที่เป็นการปกครองโดยประชาชน ของ
ประชาชน และเพื่อประชาชนอย่างแทจ้ริง ตอ้งมีหัวใจสำคัญ ของระบอบประชาธิปไตย 5 ประการ
คือ 1) หลักการอ านาจอธิปไตยเป็ นของปวงชน 2) หลักสิทธิและเสรีภาพของประชาชน 3) หลัก
ความเสมอภาค 4) หลักการปกครองโดยกฎหมายและหลักนิติธรรม และ 5) หลักการเสียงข้างมาก
(Majority rule)ควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights) โดยในแต่ละ
หลักการช้ีให้เห็นถึงแนวทางพ้้ืนฐานการปฏิบัติตนของการพัฒนาเป็นพลเมืองที่ดีตามระบอบประชาธิปไตย
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
มนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ไปสู่การปฏิบัติในระดับจังหวัด. ม.ป.ท. อ้างถึงในบทวิเคราะห์
ข้อมูล สถานการณ์และเชื่อมโยงเพื่อวางทิศทางแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบบั ที่3 (พ.ศ.
2557-2561).
การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตย. (2554).กลุ่มงานผลิตเอกสารสา นกั
ประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
ชัยอนันต์ สมุทวนิช. (2545).คู่มือการเรียนการสอนพลเมือง-พลโลก การบูรณาการการเรียนรู้ จาก
ประสบการณ์จริงตามแนวทางรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2550). เอกสารประกอบการแสดงปาฐกถาพิเศษ “วัฒนธรรมทางการเมืองไทย”
ในเอกสารการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 9 เรื่อง วัฒนธรรม การเมือง
จริยธรรมและการปกครอง.กรุงเทพฯ :ศูนยก์ารพิมพแ์ก่นจันทร์.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้ างพลเมือง (Civiceducation) : พัฒนาการ
เมืองไทยโดยสร้ างประชาธิปไตยที่คน. เอกสารประกอบการบรรยายการประชุม.
คณะอนุกรรมการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารของรัฐสภาและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองใน
ระบอบประชาธิปไตยคร้ังที่2/2555 วันที่ 11 ธันวาคม 2555.
พรรณพร สินสวสั ด์ิ. (2554). พัฒนาประชาธิปไตย พัฒนาการเมืองไทย. กลุ่มงานผลิตเอกสารสา นกั
ประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554
เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2548). การเมืองการปกครองไทย (พิมพค์ร้ังที่7). กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วสิุทธ์ิโพธิแท่น. (2551). แนวคิดพื้นฐานของประชาธิปไตย. กรุงเทพ ฯ : ส านักพิมพ์คณะรัฐมนตรี
และราชกิจจานุเบกษา.
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. (2552). การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตย (พิมพค์ร้ังที่2).
กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์วิภาษา.
เอนก เหล่าธรรมทศัน์. (2543). การเมืองภาคพลเมือง (พิมพค์ร้ังที่2). กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์
คบไฟ.
Ethridge, Marcus & Handelman, Howard. (2510). Politics in a changing world: A comparative
introduction to political science (5th ed). Wadsworth : Cengage Learning.
Moten, Abdul Rashid & IsIam, Syed Serajul. (2009). Introduction to political science. Malaysia:
Cengage Leaning Asia Pte Ltd.
Translated Thai Reference
Department of Justice (2012). Driving directions human rights issue 2 to the provincial practice in
the province... Referring to the data analysis a situation and a link to the National Human
Rights Plan 3 (B.E. 2557-2561). [in Thai]
Government politics in democracy. (2011). Thai PR document production group. Bangkok: The
Office of Secretary to the House of Representatives. [in Thai]
Ieowsriwong, T. (2007). Supporting documents for special speeches "Thailand culture" in the
meeting of King Prajadhipok's Institute The 9th cultural Story of the political ethics and
dominance. Bangkok: Printing Center is Kaen Chan. [in Thai]
Vol. 16 No. 1 (January-April) 2018 ROMMA
พรรณพร สินสวสั ด์ิ. (2554). พัฒนาประชาธิปไตย พัฒนาการเมืองไทย. กลุ่มงานผลิตเอกสารสา นกั
ประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระ
เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระ
ชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2548). การเมืองการปกครองไทย (พิมพค์ร้ังที่7). กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วสิุทธ์ิโพธิแท่น. (2551). แนวคิดพื้นฐานของประชาธิปไตย. กรุงเทพ ฯ : ส านักพิมพ์คณะรัฐมนตรี
และราชกิจจานุเบกษา.
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. (2552). การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตย (พิมพค์ร้ังที่2).
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิภาษา.
เอนก เหล่าธรรมทศัน์. (2543). การเมืองภาคพลเมือง (พิมพค์ร้ังที่2). กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
Ethridge, Marcus & Handelman, Howard. (2510). Politics in a changing world: A comparative
introduction to political science (5th ed). Wadsworth : Cengage Learning.
Moten, Abdul Rashid & IsIam, Syed Serajul. (2009). Introduction to political science. Malaysia:
Cengage Leaning Asia Pte Ltd.