การวิเคราะห์วิถีชีวิตประชาธิปไตยในหนังสือเรียนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษา

Main Article Content

ดร.กิตติพงษ์ วงศ์ทิพย์

บทคัดย่อ

บทความน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์วิถีชีวิตประชาธิปไตยที่ปรากฏในหนังสือเรียนวิชา
ภาษาไทย ด าเนินการวิจัยโดยเริ่มจากการศึกษาเอกสาร ต ารา และหนังสือที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต
ประชาธิปไตยเพื่อน ามากา หนดเป็นเกณฑ์ในการวิเคราะห์จากน้ันจึงวิเคราะห์หนังสือเรียนวิชา
ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6ของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้
ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการเพื่อหาขอ้ความที่สะทอ้นใหเ้ห็นถึงวถิีชีวิตประชาธิปไตยท้
งั 3 ดา้น ไดแ้ก่ ดา้น
คารวธรรม ด้านสามัคคีธรรม และด้านปั ญญาธรรม แล้วบันทึกลงในแบบบันทึกวิถีชีวิต
ประชาธิปไตยที่ผูว้ิจยัสร้างข้ึน จากน้นั นา ขอ้ มูลที่ไดม้ าวิเคราะห์โดยใชก้ารหาความถี่และค่าร้อยละ
ผลการวจิยัพบหนงัสือเรียนวชิาภาษาไทยช้นั ประถมศึกษามีขอ้ความที่แสดงถึงวิถีชีวติประชาธิปไตย
ด้านคารวธรรมมากที่สุด รองลงมาคือ วิถีชีวิตประชาธิปไตยด้านสามัคคีธรรม และด้านปัญญาธรรม
ตามลา ดบั เมื่อพิจารณารายละเอียดในแต่ละดา้นพบวา่ เรื่องที่พบมากที่สุดในดา้นคารวธรรม ไดแ้ก่
การมีมารยาทในการพูด รู้จกัใช้วาจาสุภาพ และเหมาะสมแก่กาลเทศะ ส่วนวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ดา้นสามคัคีธรรม เรื่องที่พบมากที่สุด ไดแ้ก่การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ถือว่างานส่วนรวมเป็น
งานของตนสำหรับวิถีชีวิตประชาธิปไตยด้านปัญญาธรรม เรื่องที่พบมากที่สุด ได้แก่การรู้จักใช้
ปัญญา ใชเ้หตุผลและความถูกตอ้งในการตดัสินปัญหาท้งัมวล

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

ดร.กิตติพงษ์ วงศ์ทิพย์

ดร.กิตติพงษ์วงศท์ ิพย์
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ เลขที่202ถ. ช้างเผือก ต. ช้างเผือก อ. เมือง จ. เชียงใหม่
50300
โทรสาร: 053-885709 โทรศัพท์: 083-0775755 อีเมล: khrudaysi@hotmail.com

References

การศึกษาแห่งชาติ, สา นกังานคณะกรรมการ. (ม.ป.ป.). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: บริษทั พริกหวาน กราฟฟิคจากดั.คณ าจารย์ภ าค วิช าภ าษ าไท ย. (2551).
ก ารใช้ ภ าษ าไท ย 1. ก รุ งเท พ ฯ: โรงพิ ม พ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พึงพิศ จักรปิ ง. (ม.ป.ป.). จิตวิทยาการเรียนการสอน. เชียงใหม่:คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่.

เพ็ญพร ทองค าสุก. (2550). ปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อความสามารถในการอยู่ร่ วมกับผู้อื่นตามวิถี
ชีวิตประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่6 สังกัดกรุงเทพมหานคร.

วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รัตนา ศิริคุปต์. (2550). ปัญหาการเสริมสร้ างวิถีชีวิตประชาธิปไตยในโรงเรียนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

วรรณี โสมประยูร. (ม.ป.ป.). เทคนิคการสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทสำนักพิมพ์ดอกหญ้า
วิชาการ.ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2536). คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาประชาธิปไตยใน
โรงเรียนประถมศึกษา (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2536). (พิมพค์ร้ังที่3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ:โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั.