ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพัน ต่อองค์การของบุคลากรส่วนกลางกรมทรัพยากรน้ำ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง “ปัจจยัที่ส่งผลต่อความผูกพนั ต่อองค์การของบุคลากรในส่วนกลาง กรม
ทรัพยากรน้ า” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการท างาน ระดับความพึงพอใจในงาน
และระดบัความผูกพนั ต่อองค์การของบุคลากรในส่วนกลางกรมทรัพยากรน้ำ และเพื่อหาปัจจยัที่
ส่งผลต่อความผูกพนั ต่อองค์การของบุคลากรในส่วนกลางกรมทรัพยากรน้ า กลุ่มตัวอย่างคือ
บุคลากรในส่วนกลาง กรมทรัพยากรน้ า จา นวนท้ังสิ้น 400 คน ซ่ึงได้จากวิธีการสุ่มแบบช้ันภูมิ
เครื่องมือที่ใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้มูลคือแบบสอบถาม และสถิติที่ใชใ้นการวเิคราะห์ขอ้ มูลไดแ้ก่
ค่าความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพนัธ์และสถิติการวิเคราะห์
ถดถอยพหุ ด้วยวิธี Enter ผลการวิจยัพบวา่ บุคลากรในส่วนกลางกรมทรัพยากรน้า มีระดบัความผูกพัน ต่อองค์การ
อยู่ในระดับ มากเช่นเดียวกับ แรงจูงใจในการทา งาน และความพึงพอใจในงาน จากการวิเคราะห์
ปัจจยัที่ส่งผลต่อความผูกพนั ต่อองค์การของบุคลากรในส่วนกลางกรมทรัพยากรน้ำ โดยนำ ตัวแปร
แรงจูงใจในการทา งานและความพึงพอใจในงานเขา้สู่สมการพบวา่ ตวัแปรท้งั 2 ร่วมกันอธิบายการผันแปรของความผูกพนั ต่อองคก์ ารไดร้้อยละ20.1 และท้งัแรงจูงใจในการท างานและความพึงพอใจ
ในงานเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ 0.5 โดยพบว่า
แรงจูงใจในการทา งานมีอิทธิพลต่อความผกู พนั ต่อองคก์ ารสูงกวา่ ความพึงพอใจในงาน
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น
References
ได้จาก: www.dwr.go.th.
กรกฎ พลพานิช. (2540). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบังคับบัญชาและ
พนักงานวิชาชีพการตลาดบริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม, คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จารุเนตร ทองจันดี. (2556). ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการครูในกลุ่มโรงเรียนนิคมพัฒนา
สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จังหวัดระยอง. งานนิพนธ์
หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
บูรพา.
ดวงพรโพธ์ิสรและเทียนแกว้ เลี่ยมสุวรรณ. (2558). วารสารการบริหารรัฐกิจและการเมือง. (ปี ที่4).
วทิยาลยัการบริหารรัฐกิจ มหาวทิยาลยับูรพา.
บุญชูกิจสิริสินชัย. (2553). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานและความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการ
สำนักงานสรรพากรพื้นที่ชลบุรี 1. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ไพสิฐพงศ์ ถาวรเจริญ. (2548).ความผูกพันต่อองค์การ: ศึกษากรณี ข้าราชการทหารกองบัญชาการ
ช่วยรบที่ 1. ปริญญารัฐประศาสตรนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ,
วิทยาลยัการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลยับูรพา.
มณฑล รอยตระกูล. (2546). แรงจูงใจที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของสรรพากรพื้นที่สาขา.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, บัณฑิตวิทยาลัย
สถาบันราชภัฏนครปฐม.
มณีรัตน์ ราศีจันทร์. (2551).ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงานกับความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการสาธารณสุ ข สั งกัดส านักงานสาธารณสุ ขอ าเภอเมืองชลบุรี. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยบูรพา.
สันติ โกเศยโยธิน. (2554).ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนต าบล
ในสังกัดส่วนโยธาในจังหวัดสระบุรี. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศกรรมโยธา,
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
อัจฉรียา นิลละมัง. (2557).ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยาวชน. ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิาการบริหารทวั่ ไป, วิทยาลัยการ
บริหารรัฐกิจ มหาวทิยาลยับูรพา.