พลวตัการปรับตัวในการประกอบอาชีพของคนไทยเชื้อสายจีนในจังหวดัสุรินทร์

Main Article Content

ณัฐพัชรร์ เตชะรุ่งไพศาล
บุญสม ยอดมาลี

บทคัดย่อ

บทความวิจยัน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาพลวตัการปรับตวัในการประกอบอาชีพของคนไทย
เช้
ือสายจีนในจงัหวดัสุรินทร์โดยใชว้ธิีการวิจยัเชิงคุณภาพ และน าเสนอผลการวิจัยโดยวิธีพรรณนา
วิเคราะห์ผลการศึกษาพบว่าพลวตัการปรับตัวในการประกอบอาชีพของคนไทยเช้
ือสายจีน
ประกอบด้วย แรงขบั เคลื่อนภายใน เช่น ครอบครัวค่านิยม สังคมและวฒั นธรรม ส่วนแรงขบั เคลื่อน
ภายนอกไดแ้ก่การเมือง เศรษฐกิจการคมนาคม การศึกษา และเทคโนโลยี1) การประกอบอาชีพรุ่น
ที่ 1 จนถึงรุ่นที่3 ยงัคงประกอบอาชีพเดิม ไดแ้ก่ร้านทา กุนเชียง โรงโม่หิน 2)การประกอบอาชีพ
ของรุ่นที่1 จนถึงรุ่นที่3 เปลี่ยนไปซ่ึงประกอบอาชีพที่แตกต่างจากอาชีพเดิม ไดแ้ก่จากเดิมขายยาง
รถยนต์ปรับเปลี่ยนไปขายวสั ดุก่อสร้าง หรือจากเดิมขายข้าวสารหันไปขายปุ๋ ย เนื่องด้วยปัจจัย
ทางด้านเศรษฐกิจและการคมนาคมขนส่งเป็นส าคญั 3) บางกลุ่มอาชีพตอ้งเลิกกิจการไป เช่น ขาย
ปลาทูขายยาจีน เนื่องจากไม่มีผูส้ืบทอดกิจการหรือลูกหลานน้นั ไปประกอบอาชีพตามวิชาชีพหรือ
สายงานที่ตนเองเรียนมา เช่น วศิวกรแพทย์พยาบาล เนื่องด้วยปัจจัยทางด้านการศึกษา

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤษฎา พิณศรี และชรินรัตน์ อิงพงษ์พันธ์. (2548). การปรับตัวของคนไทยเชื้อสายจีนภายใต้
วัฒนธรรมเขมร สุรินทร์. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

ชรินรัตน์ อิงพงษ์พันธ์. (2548). การศึกษาประวัติความเป็ นมา วิถีชีวิตและสัมพันธภาพของคนไทย

เชื้อสายจีน : กรณีศึกษาสมาคมแซ่ตั้ง สมาคมแซ่เตีย และสมาคมแซ่อึ้ง ในเขตเทศบาล
เมือง จังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์และสมศกัด์ิศรีสันติสุข. (2532). ชาวจีนในอ าเภอสองแห่งในจังหวัด
ยโสธร.ขอนแก่น : มหาวทิยาลยัขอนแก่น.

ปรีชา วรเศรษฐสินและคณะ. (2553). หนังสืออนุสรณ์คุณแม่เฮียง วรเศรษฐสิน. สุรินทร์ : ม. ป. พ.

ผาณิต รวมศิลป์. (2521). นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตั้งแต่
พ.ศ. 2481-พ.ศ. 2487.วิทยานิพนธ์ อ.ม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พลกูลองักินนั ท. (2514). ์ บทบาทชาวจีนในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ :วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร.

สุชาดา ตันตสุรฤกษ์. (2532). โพยก๊วน : การส่งเงินกลับประเทศโดยชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศ
ไทย พิมพค์ร้ังที่41. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.