ความท้าทายต่อชุมชนปฏิบัติชาวสวนลุ่มน้ำแม่กลอง

Main Article Content

มานะ นาคำ
สมชัย ภัทรธนานันท์

บทคัดย่อ

ชุมชนชาวสวนลุ่มน้า แม่กลอง ตอ้งเผชิญกบัการขยายตวัของระบบทุนนิยมอุตสาหกรรมที่
อยูร่ ายรอบและนโยบายการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานในพ้ืนที่ของรัฐที่กดดนั ต่อชุมชนชาวสวน แต่
ชุมชนชาวสวนลุ่มน้า แม่กลองยงัคงดา รงความเป็นชาวสวนอยูม่ าจนถึงปัจจุบนั ดงัน้นั ชุมชนชาวสวน
น่าจะมีคุณสมบตัิบางอยา่ งที่ทา ให้เผชิญกบัการเปลี่ยนแปลงได้ผูว้ิจยัไดใ้ช้การวิจยัเชิงคุณภาพโดย
การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักและกรณีศึกษาร่วมกบัการสา รวจขอ้ มูลครัวเรือนชาวสวน พบวา่ ชุมชน
ปฏิบตัิชาวสวนที่สะสมความรู้ถ่ายทอดความรู้ในการทา สวนระหวา่ งกนั ทา ให้สืบทอดการทา สวน
มาได้แต่ชุมชนปฏิบัติชาวสวนตอ้งเผชิญกบั ความท้าทายใหม่ๆตลอดเวลาท้งัจากภายในชุมชน
ชาวสวนและความกดดนั จากภายนอก ชุมชนชาวสวนเรียนรู้สถานการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน
และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับกลุ่มคนอื่นๆ ในสังคมเพื่อให้มีพลังที่จะต่อรองกับการ
เปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อวถิีชีวติและทรัพยากรของทอ้งถิ่น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ขวัญชีวัน บัวแดง และอภิญญา เฟื่ องฟูสกุล. (2555). พิธีกรรมและปฏิบัติการในสังคมชาวนา
ภาคเหนือของประเทศไทย. เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์
มหาวทิยาลยัเชียงใหม่.

อาภรณ์ จันทร์สมวงศ์. (2541). วิถีชีวิตและสวนไทยในบริบทการพัฒนา:กรณีศึกษาชุมชนชาวสวน
ในจังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
เทคโนโลยกีารบริหารสิ่งแวดลอ้ ม มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุรจิต ชิรเวทย์. (2550ก). คนแม่กลอง (พิมพค์ร้ังที่5). สมุทรสงคราม: หอการค้าจังหวัด
สมุทรสงคราม._______. (2550 ข). คนแม่กลอง :ฉบับพิเศษ หมายเหตุโรงไฟฟ้าหายนะแห่งการคุกคามชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: เครือข่ายประชาชนแม่กลอง.

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. (2554).ผังเมืองรวมเมืองอัมพวา (ปรับปรุงครั้งที่ 1) อ าเภออัมพวา
จังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภาภรณ์ จินดามณีโรจน์. (2536). ประวตัิศาสตร์ทอ้งถิ่นลุ่มน้า แม่กลอง:ศึกษากรณีชุมชนมอญบ้าน
ม่วงในลุ่มน้า แม่กลองและพฒั นาการทางสังคมและวฒั นธรรม. ใน ปรานี วงษ์เทศ
(บรรณาธิการ). แม่น ้าแม่กลอง: พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม. หน้า 74-112.กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มนตช์ยั ผอ่งศิริ, มณีมยั ทองอยู่และเยาวลักษณ์ อภิชาติวัลลภ. (2557). ไทยพลดัถิ่
นในตะนาวศรี:การดำรงชีพของ “ผเู้ลือกที่จะอยู่อย่างคนพลัดถิ่น.
วารสารสังคมลุ่มน ้าโขง. 10(2), pp. 81-106.

วิภาส ปรัชญาภรณ์. (2544). ช่างไม้:ความรู้ และตัวตน.วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมวิทยาและ
มานุษยวิทยา (มานุษยวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรรถจักร สัตยานุรักษ์ (2559). ลืมตาอ้าปาก จากชาวนาสู่ผู้ประกอบการ.กรุงเทพฯ: มติชน.
ชิเกฮารุ ทานาเบ. (2551). ชุมชนกับการปกครองชีวญาณ: กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาคเหนือของไทย.

กรุงเทพฯ:ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).นลินี ตันธุวนิตย์. (2551). มิติวัฒนธรรมในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม. วารสารสังคมลุ่มน้า โขง,4(1),1-27.

อนุสรณ์ อุณโณ และคณะ. (2552). คนท าตาล:ประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ ส านึก และการเคลื่อนไหว
ทางสังคมและการเมืองของชาวสวนบางนางลี่.กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ชยันต์ วรรธนะภูติ. (2549). “คนเมือง”: ตัวตน การผลิตซ ้า สร้ างใหม่ และพื้นที่ทางสังคมของคน
เมือง. ใน อานันท์ กาญจนพันธุ์ (บรรณาธิการ). อยู่ชายขอบ มองลอดความรู้ รวมบทความ
เนื่องในวาระครบรอบ 60 ปี ฉลาดชาย รมิตานนท์. หน้า 33-73. กรุงเทพฯ: มติชน.

ศรีศักร วัลลิโภดม. (2536). ลุ่มน้า แม่กลอง. ใน ปรานี วงษ์เทศ (บรรณาธิการ). แม่น ้าแม่กลอง:
พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรม. หน้า 24-62.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เวนเกอร์, เอเตียน; แมคเดอร์ม็อท, ริชาร์ด และ ชไนเดอร์, วิลเลี่ยม เอ็ม. (2547). ชุมชนปฏิบัติ: การ
จัดการความรู้ สายพันธุ์ใหม่. (พูนลาภ อุทัยเลิศอรุณ, แปล). กรุงเทพฯ:วีเลิร์น.
Lave, J. & Wenger, E. (1991). Situated learning: Legitimate peripheral participation. Cambridge:
Cambridge University Press.

Rigg, J. (1997). Southeast Asia “The human landscape of modernization and development”.
London: Routledge.

Wenger, E. (1998). Community of practice learning, meaning and identity. Cambridge: Cambridge
University Press.