ภูมิคุ้มกันเชิงสังคมในสังคมก้มหน้า

Main Article Content

ดร.เอนก สุวรรณณฑิต

บทคัดย่อ

การวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้สหวิทยาการด้วยหลกั ปรัชญาต่อเทคนิคการฟัง
อยา่ งต้งัใจในลกั ษณะภูมิคุม้กนั ทางสังคม โดยการวิเคราะห์เชิงปรัชญาจากปรัชญากระบวนทรรศน์
ปรัชญาเทคโนโลยีและปรัชญาสังคม ผลการวิจัยคือ1) ปัญหาเชิงสังคมจากสังคมกม้ หน้ามีอยูจ่ ริง
อุปกรณ์สื่อสารที่ทนั สมยัไดด้ึงความสนใจของมนุษยจ์ากสิ่งต่างๆ รอบตวัไปจนหมด เกิดภาวะไม่มี
ใครสนใจใคร คนรุ่นใหม่สูญเสียทกั ษะทางสังคมในการพบปะกนั ต่อหน้าและมีแนวโน้มที่จะมี
สมรรถนะทางความคิดและสมาธิที่ส้ันลงการรับรู้ภายนอกลดลง มนุษยไ์ ม่อาจคดักรองสิ่งที่สนใจ
ออกจากสิ่งเร้าที่ไม่เกี่ยวข้อง ปัญหาของช่วงความสนใจที่ส้ันลงจะส่งผลต่อแนวทางในการจดั
การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของมนุษย์ในยุคต่อไป 2) การฟังอย่างต้ังใจเป็นภูมิคุ้มกัน
เนื่องจากเน้นการต้
งัใจฟังและจา แนกคา พูดของคู่สนทนาโดยไม่รีบด่วนสรุป มีความสามารถเขา้ใจ
ในบริบทของแต่ละคนที่ผกู พนัอยูก่ บั เวลาของแต่ละคนและครอบฟ้าความรู้ของคนๆ น้นั ซึ่งในการ
ฝึกเทคนิคการฟังอยา่ งต้
งัใจน้นั ผู้ทรงคุณวุฒิแนะน าเทคนิคการฟังอยา่ งต้
งัใจตามหลกั สุ จิ ปุ ลิ และ
การฝึ กฝนการฟังด้วยการฝึ กแยกแยะฝึกสนทนาคู่และฝึกสนทนากลุ่มเป็นประจา ผลลัพธ์ของการ
วจิยัน้ีสามารถนา ไปใช้ประยุกต์ใช้เป็ นหลักการในการป้องกนั ปัญหาทางสังคม และเป็ นแนวทางใน
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในลกัษณะภูมิคุม้กนั ทางสังคม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กีรติบุญเจือ. (2546). ปรัชญาภาษาชาวบ้าน.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น.
วรภทัร์ภู่
เจริญ. (2552). Dialogue คิดลงสู่ในไหลลงสู่ปัญญา. กรุงเทพฯ:อริยชน.
เอนก สุวรรณบณั ฑิต,กีรติบุญเจือ.(2558). สังคมบนฐานความรู้กบั สันติภาพ. รมยสาร, 13(2):
149-59.
Augtein, R. & Wolff, G. (1976, May 31). Der Spiegel Interview with Martin Heidegger.
(Richardson, W.J. trans). Der Spiegel, pp. 193-219. Retrieved April 20, 2016, from
https://www.ditext.com/heidegger/interview.html.
Borgmann, A. (1984). Technology and the character of contemporary life: A philosophical
inquiry. Chicago: The University of Chicago.
Buber, M. (1998). Knowledge of man: Selected essays. Amherst, USA: Prometheus.
Gordon, M. (2011). Listening as embracing the Other. Educational Theory, 61; 207-19.
Haskell, RE. (2008). Deep listening: hidden meaning in everyday conversation. New York:
Perseus.

Heidegger, M. (1976). The question concerning technology and other essays. (Lovitt, W., Trans).
New York: Harper & Row.

Laryea, K. (2014). A pedagogy of deep listening in e-learning. Journal of Conscious Evolution.

Retrieved on August 31, 2015 from: https://www.cejournal.org/wpcontent/uploads/2012/06/Deep.pdf

Microsoft. (2015). Attention span. Toronto: Microsoft Canada.

Morkunien, J. (2004). “The information society as knowledge based society”, in Social philosophy,

paradigm of contemporary thinking. Cultural heritage and contemporary change series IVA,
Eastern and central europe Vol.23. Council for research in values and philosophy: 196-207.
https://www.crvp.org/book/Series04/IVA-23/contents.htm

Winner, L. (1977). Autonomous technology: Technics-out-of-control as a theme in political
thought. Miami: MIT Press.

Walter, P. & Kop, R. (2009). Heidegger, digital technology and postmodern education. Bulletin of
science technology & society. Retrieved on March1, 2016 from https://bsts.sagepub.com