รูปแบบนวตักรรมการจัดการเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง ของเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

พิสมัย ประชานันท์
บัณฑิต ผังนิรันดร์

บทคัดย่อ

การวิจยัน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพฒั นารูปแบบนวตักรรมการจดัการเครือข่ายเพื่อการ
ส่งเสริมหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเครือข่ายปราชญ์ชาวบา้นภาคตะวนัออกเฉียงเหนือโดย
กลุ่มเป้าหมายที่ศึกษาในคร้ังน้ีประกอบดว้ย 1) ปราชญ์ชาวบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 6
คนและ 2) เครือข่ายปราชญ์ชาวบา้นภาคตะวนัออกเฉียงเหนือจ านวน 30 คน วิเคราะห์ข้อมูลและ
น าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่า ปัจจุบันสมาชิกเครือข่ายปราชญ์
ชาวบ้านมีลักษณะที่หลากหลาย มีการขับเคลื่อนการท างานที่มีลักษณะผสมผสาน คือเป็นท้
งับุคคล
ในสายเลือด และบุคคลที่มีความศรัทธาต่อวิธีคิดและคา สอนของปราชญช์ าวบา้นมาร่วมอุดมการณ์
เป็ นจ านวนมากข้ึน โดยกิจกรรมหลกัของกลุ่มประกอบด้วย การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การอบรม
หลักสูตร วปอ. (ภาคประชาชน)การประชุมสมาชิกภายในเครือข่ายฯ การประชุมเครือข่ายปราชญ์ฯ
บุรีรัมย์ และการประชุมพหุภาคีภาคอีสาน ส าหรับช่องทางการติดต่อสื่อสารที่ใช้ในปัจจุบัน
ส่วนมากติดต่อและประสานงานด้วยโทรศัพท์ ไลน์และเฟชบุ๊คส์ ระบบการสร้างความสัมพนัธ์ส่วน
ใหญ่ปราชญ์ชาวบ้านจะมีการจัดท าท าเนียบรุ่นของผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตร วปอ. (ภาค
ประชาชน) มีการจัดท าข้อมูลทะเบียนสมาชิกเครือข่ายฯ และการก ากับติดตามเป็นระยะ
ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการมาร่วมเครือข่ายฯ ส่วนใหญ่จะเปิดประโยชน์ในเชิงคุณค่ามากกวา่ มูลค่า
กล่าวคือ เกิดแหล่งเรียนรู้เพิ่
ม เครือข่ายเพิ่
มข้ึน และมีช่องทางการสร้างงานสร้างอาชีพในชุมชน
เพิ่ม ข้ึน ส าห รั บ รูป แบ บนวัตกรรม การจัดการของเครือข่ายป ราชญ์ชาวบ้านใน ภาค


ตะวันออกเฉียงเหนือที่จะท าให้เกิดความต่อเนื่องในการขบั เคลื่อนที่ส าคัญคือ จะต้องสร้าง ค้นหา
ทายาทปราชญ์ชาวบ้านเพื่อให้เป็นกา ลงัส าคญั ในการสานต่อและขยายผลการน้อมนา หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบตัิและสร้างความร่วมมือกบั หน่วยงาน องค์การจากภายนอก เพื่อ
เป็นพลงัทางวชิาการเสริมการขบั เคลื่อน สิ่งที่สา คญั ต่อมาคือต้องมีการสร้างวิสัยทัศน์ที่เกิดประโยชน์
ต่อชุมชนและสังคม เกิดความต่อเนื่องและขยายผลไปยังผู้สนใจได้ แต่อยา่ งไรก็ตามเพื่อให้เกิดการ
รับรู้ในระดับที่กวา้งขวางมากข้ึนจะต้องมีการประชาสัมพันธ์การด าเนินงานผ่านสื่อทุกช่องทาง
เพื่อใหเ้กิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกนัและกนัอยา่ งต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกรียงศกัด์ิเจริญวงศศ์กัด์ิ. (2543). มองฝันไปข้างหน้า: วิสัยทัศน์ประเทศไทยปี 2560. กรุงเทพฯ:
ซัคเซสมีเดีย.

นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2550). แนวคิดทางการพัฒนาชุมชน.กรุงเทพฯ: กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย.

ปิ ยะวัติ บุญ-หลง. (2558). โครงการพัฒนาเครือข่ายวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยและเครือข่าย
บริหารจัดการในมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุนงานวิจัยนวัตกรรมเพื่อชุมชนสังคม.กรุงเทพฯ:
สถาบันคลังสมองของชาติ

ราชันย์ ท้าวพาและคณะ. (2556). รูปแบบการสร้ างเครือข่ายเยาวชนคนสร้ างสรรค์ ต าบลบ้านขาม
อ าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล าภู.รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สนับสนุนโดยส านักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

วัฒนา สุราษฎร์มณี บุญทัน ดอกไธสง และบุญเลิศ ไพรินทร์. (2558). ผลการบริหารจัดการศูนย์การ
เรียนรู้ ชุมชนในพื้นที่จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร
ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณในพระบรม
ราชูปถัมภ์.

เสรี พงศ์พิศ. (2549). เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์.
ส านักงานสหกรณ์จังหวัดนครพนม. (2556). การจัดการความรู้ ประจ าปี งบประมาณ 2556.
นครพนม.อัดส าเนา.
สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2550). ศูนย์เรียนรู้ และแนวความคิดของปราชญ์
ชาวบ้านหลักในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: สา นกัพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ.

อาแว มะแส. (2554). บทบาทของกิจกรรมร่วมในการเสริมสร้างคุณภาพสังคมในชุมชนชนบทไทย
: วิเคราะห์กรณีของ 2 ชุมชนในภาคใต้. วารสารร่ มพฤกษ์, ปี ที่ 29 ฉบับที่ 1, หน้า 9-38.

ทัย อันพิมพ์ และนรินทร บุญพราหมณ์. (2555). การจัดการความรู้เกษตรประณีตของสมาชิก
เครือข่ายปราชญช์ าวบาน้ .วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ ), ปี ที่ 4 ฉบับที่ 7, หน้า 174-191.