การศึกษาความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรสายงานอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในเขตพื้นที่โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
คำสำคัญ:
ความฉลาดทางอารมณ์, การรับรู้ตนเอง, การแสดงออก, มนุษยสัมพันธ์, การจัดการความเครียด, การตัดสินใจ, อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความฉลาดทางอารมณ์ และ 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของความฉลาดทางอารมณ์จำแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์ทำงาน รายได้ต่อเดือน และลักษณะงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ บุคลากรสายงานอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในเขตพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จำนวน 100 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ ด้านการรับรู้ตนเอง ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านการจัดการความเครียด ด้านการตัดสินใจ และด้านการแสดงออก ตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ จำแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์ทำงาน และลักษณะงาน พบว่า โดยภาพรวม ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผลการเปรียบเทียบความแตกต่างเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ จำแนกตามรายได้ต่อเดือน พบว่า โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
References
Six Seconds. (2021). [online]. State of Heart Trend in Emotional Intelligence 2021. [cited 14 Aug. 2022]. Available from : URL : https://www.6seconds.org/emotional-intelligence/research/
กรมสุขภาพจิต. (2564). [ออนไลน์]. เปิดผลวัดใจคนไทยช่วงโควิด-19 พบ 4 เรื่องใหญ่. [สืบวันที่ 14 สิงหาคม 2565]. จาก https://dmh. go.th/news-dmh/view.asp?id=31154
Mega We care. (2564). [ออนไลน์]. เทรนด์สุขภาพประจำเดือน สิงหาคม 2564. [สีบค้นวันที่ 14 สิงหาคม 2565] จาก https://www.megawecare.co.th/content/5673
Cigna. (2019). [online]. Impact of Stress on Healthcare Systems. [cited 14 Aug. 2022] Available from : https://www.cignaglobal.com/blog/thought-leadership/ impact-of-stress-on-healthcare-systems
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). สรุปผลที่สำคัญ การสำรวจสุขภาพจิต (ความสุข) ของคนในประเทศไทย พ.ศ. 2563. บางกอกบล็อก.
สถาบันไฟฟ้าและอิเล็คทรอนิกส์. (2565). [ออนไลน์]. ศักยภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างไทยกับเวียดนาม. [สืบค้นวันที่ 14 สิงหาคม 2565]. จาก https://eiu.thaieei.com/box/Research/97/ศักยภาพการแข่งขันไทย%20เวียดนาม-ตัด.pdf
Bar-On, R. (2001). Emotional intelligence and self-actualization. Emotional intelligence in everyday life. a scientific inquiry. 82-97.
Cooper, R. K. and Sawaf, A. (1997). Executive EQ: Emotional Intelligence in Business. London: Orion Business Books.
Goleman, D. (1998). Working with Emotional Intelligence. London: Bloomsbury.
Mayer, J. D. and Salovey, P. (1990). Emotional intelligence. Sage. 9, 185-211.
Mayer, J. D., Caruso, D. R. and Salovey, P. (1999). Emotional intelligence meets traditional standards for an intelligence. Intelligence. 27(4), 267–298.
Multi-Health Systems Inc. (2011). [online]. The EQ-I 2.0 Model. [cited] 28 Aug. 2022]. Available from : https://mhs.com/info/taproductresourcecenter-0/
Stein, S. J., Book, H. E. and Kanoy, K. (2013). The student EQ edge: Emotional intelligence and your academic and personal success : Jossey-Bass.
วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2542). เชาวน์อารมณ์ (EQ) : ดัชนีวัดความสุขและความสำเร็จของชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
เทอดศักดิ์ เดชคง. (2547). ความฉลาดทางอารมณ์. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ : มติชน.
วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2551). เชาวน์อารมณ์ (Emotional Quotien -EQ) : ดัชนีวัดความสุขและความสำเร็จของชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bar-On, R. (1988). The development of a concept of psychological well-being. Doctoral dissertation, Rhodes University, South Africa.
กรมสุขภาพจิต. (2548). อีคิว : ความฉลาดทางอารมณ์. นนทบุรี: สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต.
Multi-Health Systems (2011)The Emotional Quotient Inventory 2.0: User’s handbook. Toronto, ON: Multi-Health Systems.
สถาบันไฟฟ้าและอิเล็คทรอนิกส์. (2565). [ออนไลน์]. จำนวนผู้ประกอบการและจำนวนแรงงาน. [สืบค้นวันที่ 14 สิงหาคม 2565]. จาก http://www.thaieei.com/eiu/Tableau Page.aspx?MenuID=35
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2563). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุงเทพฯ : บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
รุจิกาญจณ์ เหลี่ยมเจริญ. (2561). ความฉลาดทางอารมณ์ของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 6 มหาวิทยาลัยนเรศวร. วิทยานิพนธ์ปริญญาสุขภาพศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ทิพประภา พิศาลกิตติคุณ. (2558). ความฉลาดทางอารมณ์ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา ผู้ปฏิบัติงานฝ่ายควบคุมระบบกำลังไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยศิลปากร.
อรวรีย์ โคตรเคน. (2560). ปัจจัยความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารงานโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุสาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลลนคร.
พิทยุตม์ บุญอำนาจเดช. (2563). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ กับอคติในการลงทุน ของเทรดเดอร์รายย่อย ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การศึกษาค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตร์หาบัณฑิต (การบัญชีและการบริหารเงิน) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.