สำนวนที่มีคำว่า “ใจ” : การศึกษาเปรียบต่างภาษาเยอรมันกับภาษาไทย; Idioms with “heart”: A German-Thai Contrastive Study
Keywords:
สำนวน, ใจ, การศึกษาเปรียบต่าง, ภาษาเยอรมัน, ภาษาไทย, idioms, heart, contrastive study, German, Thai, Phraseologismen, Herz, kontrastive Studie, Deutsch, ThailändischAbstract
งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาเปรียบต่างสำนวนที่มีคำว่า “ใจ” ในภาษาเยอรมันและภาษาไทย ทั้งนี้ โดยศึกษาสำนวนที่มีคำว่า “ใจ” ในภาษาเยอรมัน 93 สำนวน และภาษาไทย 62 สำนวน จากการศึกษาสำนวนในสองภาษานี้รวมทั้งสิ้น 162 สำนวน พบว่า คำว่า “ใจ” ในสำนวนภาษาเยอรมันและภาษาไทยนั้นมีความหมายหลัก 5 ความหมาย โดยที่ 4 ความหมายมีปรากฏในสำนวนทั้งสองภาษา ได้แก่ “ภาชนะหรือสถานที่” “สิ่งมีชีวิต” “วัตถุ” และ “สสาร” แต่ความหมายสุดท้าย คือ “หัวใจมนุษย์” นั้น พบว่ามีปรากฏแต่ในภาษาเยอรมันเท่านั้น เมื่อศึกษาหาความเหมือนกันในสองภาษา พบว่าสำนวนส่วนใหญ่จะไม่มีความหมายเทียบเคียงกันได้เลย ในขณะที่กลุ่มรองลงมาเป็นการเท่ากันบางส่วน ในขณะที่สำนวนที่เท่ากันทั้งในเชิงโครงสร้างและความหมายนั้นพบว่าแทบจะไม่ปรากฏ
Idioms with “heart”: A German-Thai Contrastive Study
Abstract
This paper focuses on the contrastive analysis of German and Thai idioms with “heart”. 93 German and 62 Thai idioms connected with “heart” were found. There are 5 semantic fields of “heart” found in the analyzed idioms, however, only 4 of them can be found in both languages: “container/room”, “living things”, “object” and “substance”, while the use of heart as “the most essential part of human beings” appears only in German idioms. Most of the idioms containing the word “heart” in German and Thai show no equivalence. The second large group shows partial equivalence, while full equivalence is scarcely found.
„Herz“ in Phraseologismen: Eine deutsch-thailändische kontrastive Studie
Abstract
Die vorliegende Arbeit ist eine kontrastive Analyse der deutschen und thailändischen Phraseologismen mit „Herz“. 93 deutsche und 62 thailändische Phraseogismen mit „Herz“ sind gefunden worden. Unter den 162 untersuchten Phraseologismen sind insgesamt 5 semantische Felder feststellbar. 4 davon lassen sich in den beiden Sprachen finden: ,,Behälter/Raum‘‘, ,,Lebewesen‘‘, ,,Objekt‘‘ und ,,Substanz‘‘, während ,,Kern des menschlichen Wesens‘‘ nur im Deutschen auftritt. Die meisten Phraseologismen mit „Herz“ weisen Nulläquivalenz auf. Die zweitgrößte Gruppe betrifft diejenigen mit partieller Äquivalenz, während Volläquivalenz nur selten vorkommt.