การสังเคราะห์งานศึกษาภาษาผู้ไทในประเทศไทย; A Synthesis of Study On Phu Thai Language in Thailand

Authors

  • ณัฐพร จันทร์เติม สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โรงเรียนร่องคำ ตำบลร่องคำ อำเภอร่องคำจังหวัดกาฬสินธุ์ 46210
  • รัตนา จันทร์เทาว์ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Keywords:

ผู้ไท, ภาษาผู้ไท, กลุ่มชาติพันธุ์, Phu-tai, Phu-tai language, Ethnic language

Abstract

การสังเคราะห์งานศึกษาภาษาผู้ไทในประเทศไทย


บทคัดย่อ

      บทความนี้มุ่งที่จะรวบรวมและสังเคราะห์ผลงานการศึกษาภาษาผู้ไทที่ปรากฏในบทความ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย  เพื่อนำเสนอสถานภาพของภาษาและการศึกษาภาษาผู้ไทในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน จากการศึกษาพบว่า  ผลงานการศึกษาภาษาผู้ไทที่ผ่านมามีจำนวน 15  ผลงาน  โดยพื้นที่ที่มีการศึกษาภาษาผู้ไทมากที่สุด คือ สกลนคร  กาฬสินธุ์  นครพนม และบึงกาฬตามลำดับ  ประเด็นในการศึกษามี 7 ประเด็น ได้แก่ 1) การศึกษาภาษาผู้ไทเพียงพื้นที่เดียว  2) การศึกษาด้านการเปรียบเทียบ   3) การศึกษาด้านภูมิศาสตร์ทางภาษา  4) การจัดทำพจนานุกรมและการวางแผนอนุรักษ์ภาษา   5) การศึกษาโดยใช้ปัจจัยทางสังคม  6) การศึกษาด้านภาษาศาสตร์เชิงประวัติ  7) การศึกษาด้านภาษาศาสตร์วรรณนาและภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ เนื่องจากภาษาผู้ไทเป็นภาษาที่มีผู้พูดจำนวนมากในประเทศไทย  จึงควรมีการศึกษาประเด็นอื่นๆ เพิ่มเติมเพื่อขยายองค์ความรู้ให้กว้างขึ้น  ซึ่งจะนำไปสู่ความเข้าใจในกลุ่มชาติพันธุ์ผู้ไทได้อย่างลึกซึ้ง


A Synthesis of Study On Phu Thai Language in Thailand


Abstract 

            This article aims to gather and synthesize the studies of Phu-tai from related papers and research and to introduce the status of the Phu-tai studies in Thailand which would give an overview of studies from the past to present. The results show that 15 pieces of literature and research were found. Number of studies of Phu-tai language covered the provinces of Sakon Nakhon, Kalasin, Nakhon Phanom, and Bueng Karn, respectively. There are 7 topics generally studied  including : 1) Study of Phu-tai in only one single area, 2) Comparative Study,  3) Study of language geography, 4) Preparation of dictionaries and language preservation planning, 5) Study by social factors, 6) Study of historical linguistics, and 7) Study of descriptive linguistics and comparative linguistics. Since many people in Thailand speak Phu-Thai language, adding more other research points into the study helps not only to expand knowledge boundary but also to deepen understanding of Phu Thai as an ethnic group.

References

กิตติศักดิ์ แสนพาน .(2551). ประวัติและประเพณีชาวผู้ไทย (ภูไท) เมืองกุดสิมนารายณ์ (อำเภอเขาวง จังหวัด กาฬสินธุ์). เอกสารอัดสำเนา

จินตนา ศูนย์จันทร์. (2539). การวิเคราะห์คำศัพท์ภาษาผู้ไทย อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร : ศึกษา

เฉพาะกรณีเปรียบเทียบคำศัพท์ของบุคคลสามระดับอายุ. ปริญญานิพนธ์ มหาวิทยาลัยศรี

นครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

ถวิล เกษราช. (2521). ประวัติผู้ไทย. กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์.

บัญญัติพร สมเมืองกาฬ. (2533). ภูมิศาสตร์ภาษาจังหวัดสกลนคร : การศึกษาโดยใช้คำ . ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

พิชชยา อุทโท และคณะ (2552) .โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูคุณค่าภาษาผู้ไทบ้านกุดตอแก่นแดนสามัคคี ตำบลคุ้มเก่า อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ . กรุงเทพฯ : สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย

พุทธชาติ โปธิบาล และธนานันท์ ตรงดี .(2541). รายงานเรื่องการวิจัยสถานะของภาษาตากใบในภาษา

ไทถิ่น : โครงการระยะที่ 2 . ปัตตานี : สำนักงานวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

พจนี ศรีธรราษฎร์. (2526). การศึกษาเปรียบเทียบวรรณยุกต์ภาษาถิ่นผู้ไทยใน 3 จังหวัด. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต .สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพือการพัฒนาชนบท บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

เพ็ญประภา จุมมาลี .(2553). ระบบเสียงภาษาผู้ไท ตำบลถ้ำเจริญ อำเภอโซ่พิสัย จังหวัดบึงกาฬ .

วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร

พรสวรรค์ นามวัง.(2544). วรรณยุกต์อีสาน(ลาว)ที่พูดโดยคนอีสาน ผู้ไทย และโซ่ ในชุมชนตำบลนาเรียง อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์สาขาวิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มุจลินทร์ ลักษณะวงษ์. (2551). การศึกษาเปรียบเทียบคำศัพท์ภาษาไทถิ่นในจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

โรชินี คนหาญ. (2546). คำพื้นฐานภาษาผู้ไทย : การศึกษาภาษาศาสตร์เชิงประวัติ. วิทยานิพนธ์

หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาสารคาม

เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์ . (ม.ป.ป.) . ภาษาถิ่นตระกูลไทย (พร้อมทั้งภาษาตระกูลต่างๆ ในประเทศไทย) .

(ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขและเพิ่มเติม) . นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล

วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์ .(2520). ภาษาผู้ไทย . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สุพัตรา จิรนันทนาภรณ์ .(2547). สถานภาพการศึกษาภาษาไทโซ่ง. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร. ปีที่ 1 (ฉบับที่ 2) หน้า 48-64.

สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2547). แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพร้าว.

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2541). ภาษาศาสตร์สังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

อรพันธ์ อุนากรสวัสดิ์. (2536) .การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาผู้ไทกับภาษาลาวโซ่ง. บัณฑิต วิทยาลัย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Downloads

Published

2017-03-14

How to Cite

จันทร์เติม ณ., & จันทร์เทาว์ ร. (2017). การสังเคราะห์งานศึกษาภาษาผู้ไทในประเทศไทย; A Synthesis of Study On Phu Thai Language in Thailand. JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE, 6(1), 83–97. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/76739

Issue

Section

บทความวิจัย