วรรณกรรมเชิงนิเวศในมหาชาติ ฉบับสำนวนท้องถิ่นอีสาน

วรรณกรรมเชิงนิเวศในมหาชาติ ฉบับสำนวนอีสาน

ผู้แต่ง

  • ขนิษฐา สีทาหล่อน สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
  • สุพรรษา ศรีแสง สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
  • ชาญยุทธ สอนจันทร์ สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

วรรณกรรมเชิงนิเวศ, มหาชาติ, สำนวนอีสาน

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีคิดเชิงนิเวศในมหาชาติ ฉบับสำนวนท้องถิ่นอีสาน โดยวิธีการดำเนินการวิจัยเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจงจากการศึกษาตัวบทเอกสารสื่อสิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือมหาชาติสำนวนอีสาน ฉบับหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เฉลิมพระเกียรติ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชในมหามงคลสมัยรัชมังคลาภิเษก พุทธศักราช 2531 มาเป็นข้อมูลในการศึกษาแบบพรรณนาวิเคราะห์

            ผลการศึกษาพบว่า 1. วิธีคิดว่าด้วยจักรวาลทัศน์เชิงนิเวศ ประกอบด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสวรรค์ และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับนรก 2. วิธีคิดว่าด้วยคติความเชื่อเชิงนิเวศ ประกอบด้วย คติความเชื่อเกี่ยวกับกรรม คติความเชื่อเกี่ยวกับ เรื่องสังสารวัฏ คติความเชื่อเกี่ยวกับการให้ทาน และคติความเชื่อเกี่ยวกับสัญญะความอุดมสมบูรณ์  3. วิธีคิดว่าด้วยธรรมชาติเชิงนิเวศ ประกอบด้วย ธรรมชาติทางกายภาพ ธรรมชาติทางชีวภาพ

Author Biography

ชาญยุทธ สอนจันทร์, สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

จบการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

References

Fine Arts Department. (1988). Mahachat Isan language. Bangkok: War Veterans Organization Printing House.

Darin Pradittatsanee. (2016). Examining environmental problems through the lens of contemporary American literature. Chulalongkorn University.

Thanya sangkhaphanthanon. (2013). Green literature. Paradigm and natural discourse in Thai literature. Pathum Thani: Nakhon.

Theeraphong Methaisong. (2017). Ghosts and Buddhism, a blend of beliefs. Bangkok : Thai Tips.

Premjit Rueangmee. (1997). Humans and nature in the perspective of Buddhist philosophy. Master of Arts Program Thesis Philosophy major Prince of Songkla University.

Wit Wisthawet. (1999). General philosophy. Bangkok: Aksorn Charoenthat.

Sasina Phara (2007). Natural resources and the environment. Bangkok : Expert Net.

Suthiluck Amphanwong. (1987). Thai elephant. Bangkok : Bangkok Bank Foundation.

Sunthorn Na Rungsi. (2007). Buddhist philosophy from the Tripitaka. Bangkok : Chulalongkorn University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31

How to Cite

สีทาหล่อน ข., ศรีแสง ส., & สอนจันทร์ ช. (2024). วรรณกรรมเชิงนิเวศในมหาชาติ ฉบับสำนวนท้องถิ่นอีสาน: วรรณกรรมเชิงนิเวศในมหาชาติ ฉบับสำนวนอีสาน. วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 13(2), 1–27. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/276423

ฉบับ

บท

บทความวิจัย