เสียวสวาด : การตีความเชิงปรัชญาธรรม

เสียวสวาด : การตีความเชิงปรัชญาธรรม

ผู้แต่ง

  • โสวิทย์ บำรุงภักดิ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

เสียวสวาด;, การตีความ;, เชิงปรัชญาธรรม

บทคัดย่อ

บทความทางวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาสิ่งที่เป็นแก่นทางปรัชญา ด้วยวิธีการแห่งการตีความวรรณกรรมอีสานเรื่องเสียวสวาด ซึ่งพบว่าเสียวสวาดเป็นภาษาล้านช้าง หมายถึงนักปราชญ์ เป็นวรรณกรรมชิ้นเอก เป็นนิทานชาดก มีสำนวนที่ไพเราะ มีแนวคิดเรื่องพระโพธิสัตว์ มีเนื้อหาสาระเชิงปรัชญา เชื่อว่าปัญญาประเสริฐกว่าทรัพย์ เน้นการใช้ปัญญาในการแก้ไขปัญหา ใช้ทฤษฎีเชิงศาสนาและปรัชญาเป็นเครื่องมือในการตีความ จนได้ความรู้ที่เป็นปรัชญาธรรม 3 ประเด็น คือ 1) ไม่ประมาทในการรักษาความลับ ไม่ควรคบหาสมาคมกับหญิง 3 ผัว ชาย 3 โบสถ์ 2) เชื่อในกรรมและผลของกรรมที่ใครๆ ไม่สามารถหลีกหนีพ้นได้ และ 3) เปรียบเทียบให้เห็นพฤติกรรมของมนุษย์ผู้ไม่มีศีล เป็นเหตุให้พุทธศาสนาบัญญัติศีล 5 และศีล 8 ไว้เป็นหลักประพฤติปฏิบัติขัดเกลาตนเอง

References

Bunchuea, K. (2004). Paradigm and interpretation. (photocopy document).

Fine Arts Department. (1940). The Phraya Milinda’s problem. Bangkok : Charoentham Printing House.

Inyaem, R. (1981). "Siewsawad : An analytical study". Thesis of Master of Arts. Graduate School : Silpakorn University.

Khun Phrom Prasat. (1967). Siewsawad : Poetry from the Northeastern region. Ubon Ratchathani : Siritham Printing House.

Khunthawee, N. (1981). "A study of the value of Isaan literature on Siewsawad". Thesis of Master of Arts. Graduate School : Silpakorn University.

Mahachulalongkornrajavidyalaya. (1996) . Thai Tripitaka. Mahachulalongkornrajavidyalaya edition. Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya.

Nimananong, W. (2009). An analysis study of the interpretations of the Theravada Buddhist scriptures". Buddhist Research Institute. Mahachulalongkornrajavidyalaya University.

Phra Dhammapidok (P.A. Payutto). (2003). Dictionary of Buddhism : Vocabulary compilation edition. 11th printing. Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya Printing House.

Phra Ariyanuwat. (MPP). Siewsawad : Prose version, phrases from Maha Sarakham province. (photocopied document).

Phewphan, N. (2001). The problem of Siewsawad. Khon Kaen : Khangnanawittaya.

________. (2006). The problem of Siewsawad and miscellaneous problems. Khon Kaen : Khon Kaen Khangnanatham Ltd.

Pinthong, P. (1989). Encyclopedia of Isan-Thai-English languages. Ubon Ratchathani : Siritham Printing House.

Rueangsuwan, J. (1984). Folk literature of the Northeastern region. Bangkok : Teachers' Council printing house of Ladprao.

Sitthithankit, P. (2005). History of enhances learning. Bangkok : Sukhapabjai Publishing.

Thongrungroj, J. (2004). English-Thai Philosophical Dictionary. Bangkok : Offset Press Co., Ltd.

___________. (2004). "Siewsawad (Chaliew Chalad) : A comparative study of the Lanna version and the Isaan version in folklore" . Thesis of Master of Arts. Graduate School: Ramkhamhaeng University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-27

How to Cite

บำรุงภักดิ์ โ. (2023). เสียวสวาด : การตีความเชิงปรัชญาธรรม : เสียวสวาด : การตีความเชิงปรัชญาธรรม . วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 12(2), 140–155. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/267483

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ