ความเป็นแฟนตาซีในนวนิยายชุดนวหิมพานต์ ของ อลินา

ความเป็นแฟนตาซีในนวนิยายชุดนวหิมพานต์ ของ อลินา

ผู้แต่ง

  • พนิดา กุลวงษ์ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • อุมารินทร์ ตุลารักษ์ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

ความเป็นแฟนตาซี, นวนิยายชุดนวหิมพานต์, ทุติยอสูรและเอกเทพ

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นแฟนตาซีในนวนิยายชุดนวหิมพานต์ ของ อลินา งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ตัวบทในการวิเคราะห์ 2 เรื่อง คือทุติยอสูร และเอกเทพ ใช้แนวคิดความเป็นแฟนตาซีเป็นกรอบในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า ความเป็นแฟนตาซีในนวนิยายเรื่องทุติยอสูร และเอกเทพ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ 1. ความเป็นแฟนตาซีผ่านตัวละคร สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ตัวละครที่มีพลังวิเศษ และ ตัวละครสัตว์วิเศษ 2. ความเป็นแฟนตาซีผ่านของวิเศษ พบของวิเศษ ทั้งหมด 5 อย่าง คือ ธนู พระขรรค์ ยาพิษ ดอกไม้วิเศษ และสร้อยวิเศษ และ 3. ความเป็นแฟนตาซีผ่านฉาก สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ฉากที่มีความสมจริง และฉากที่มีความเป็นแฟนตาซี การนำเสนอความแฟนตาซีผ่านองค์ประกอบที่สำคัญของเรื่อง ได้แก่ ตัวละคร ของวิเศษ และฉาก ผู้แต่งมีการใช้กลวิธีในการนำเอานำเอาไตรภูมิกถาหรือจักรวาลวิทยามาสร้างสรรค์ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่าง      จักรวาลวิทยาและความเป็นแฟนตาซีในนวนิยายชุดนี้ ทำให้โครงเรื่องและการดำเนินเรื่องเป็นสิ่งที่แปลกใหม่และสร้างความน่าสนใจให้กับผู้อ่าน

References

Alina, A. (2015). Tutiyaasun (In Thai). (2nd ed.). Lookangoon.

______. (2016). Ekathep (In Thai). Lookangoon.

Chimpleewat, T., & Amratisha, K. (2021). Violence and death in fantasy fiction and a way to instill self-control in young adults: The case study of a young adult fiction series Karin Pritsana Khadi Athan. Silpakorn University Journal, 41(6), 66-79.

Hongbinbok, W., & Kongsirira, S. (2018). Supernatural Worldviews in Yok Burapa’s Novel: Monkalong. Liberal Arts Maejo University Journal, 6(2), 111-127.

Intaraporn, W. (2017). Supernatural Human Characters in the Na Kak Dok Son KlinNovel of Kaeo Kao. Veridian E-Journal Silpakorn University, 10(3), 2324-2341.

Linitda, A. (2017). The fantasy literary seies Savena: The city of magic: An analysis of the plot and the presentation techniques of the plot. Master of Arts Thesis in Thai Language, Master of Arts, Naresuan University.

Nutchamnan, K., Thammawat, J., & Sukaranandana, C. (2013). The Beliefs-superstition and the Creation-conditioned of a Superstition in Kingchat’s Novels. Rajabhat Maha Sarakham University Journal, 7(4), 55-63.

Roongsang, N. (2011). Factors influencing to the fantasy fiction exposure. Master of Arts in Mass Communication, Faculty of journalism and Mass Communication, Thammasat University.

Siengkiw, A., & Somsriploy, S. (2021). Reproduction of Ghosts and Supernatural Powers Through the Protagonists "Thurs" in Boy's Love online novel“Y-DESTINY” as a Populist Culture Media. Journal of Chandrakasemsarn, 27(2), 353-372.

Sujjapun, R. (2009). Chak kao su mai wan na sin mai sin soon (In Thai). Bangkok: Srinakharinwirot University Press.

Techakaew, N. (2017). Texts and Rites of Taidam Ethnic Group at Naphanad Villagers, Chiangkhan District, Loei Province: Cosmology and Upernatural Power. Master of Arts Thesis in Thai Language, Graduate School, Khon Kaen University.

Visate, S. (2011). Pierdomenico baccalario’s juvenile novel century: Fantasy and ecological conscience. Master of Arts Thesis in Comparative Litereture Department, Faculty of Arts, Chulalongkorn University.

Yotsorn, N., & Atchariyapaiboon, O. (2020). The Strategies of Creating Images of Supernatural Characters in the Leh Banpakarn by Wannawat. Mangrai Saan Journal, 8(2), 1-20.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-27

How to Cite

กุลวงษ์ พ., & ตุลารักษ์ อ. (2023). ความเป็นแฟนตาซีในนวนิยายชุดนวหิมพานต์ ของ อลินา: ความเป็นแฟนตาซีในนวนิยายชุดนวหิมพานต์ ของ อลินา. วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 12(2), 68–89. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/267314

ฉบับ

บท

บทความวิจัย