ความสัมพันธ์ทางการเมืองลาว-จีน ภายใต้ระบบบรรณาการสมัยล้านช้าง (ในช่วง ค.ศ. 1353 – 1779) ; Laos - China Political Relationships under the Tribute System of Lan XangPeriod (AD 1353 - 1779)

Authors

  • ศรีวิลาส มูลเหลา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ธนนันท์ บุ่นวรรณา สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Keywords:

ความสัมพันธ์ทางการเมือง, ลาว, จีน, บรรณาการวรรณกรรมลาว, Political Relationships, Laos, China, Tribute, Laos’s Documents

Abstract

บทคัดย่อ

                บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ทางการเมืองลาว-จีน ภายใต้ระบบบรรณาการสมัยล้านช้าง (ในช่วง ค.ศ. 1353 – 1779) โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical Approach) ด้วยการศึกษาจากเอกสารประเภทจดหมายเหตุราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง เอกสารจากหอจดหมายเหตุของไทย พงศาวดารลาว และเอกสารจากนักเดินทางต่างประเทศ  เป็นต้น  ผลการศึกษาพบว่าความสัมพันธ์ทางการเมืองลาว-จีน ภายใต้ระบบบรรณาการสมัยล้านช้าง (ในช่วง ค.ศ. 1353 – 1779) เริ่มขึ้นภายหลังจากอาณาจักรยูนนานถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของจีน ทำให้พรมแดนลาว-จีนติดต่อกัน จากเอกสารทั้งลาวและจีนพบว่า ลาวเป็นรัฐบรรณาการของจีนเหมือนรัฐอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีเมืองหลวงพระบางเป็นเมืองหลักในการส่งบรรณาการให้กับจีนใช้เส้นทางบกผ่านยูนนานไปยังเมืองหลวงปักกิ่ง  ส่วนปัจจัยความทางสัมพันธ์ทางการเมืองลาว-จีน ในช่วงนี้พบว่า มี 3 ปัจจัยคือ 1)ภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตติดต่อกัน 2)แนวคิดจงกว๋อจีนเป็นศูนย์กลาง เพื่อควบคุมและปกครองชนพื้นเมืองที่จีนถือว่าลาวเป็นชนพื้นเมือง 3)แนวนโยบายเกี่ยวกับการส่งบรรณาการ

 

Abstract

                The goal of this article was to study Laos - China political relationships under the tribute system of Lan Xang period from 1353 to 1779. The historical approach was used, studying documents from the Ming Shi-lu, Qing Shi-lu, documents from the Thai Archives, Laos annals, and documents from foreign travelers.  The study found that Laos - China political relationships under the tribute system of Lan Xang period from 1353 to 1779 appeared after Yunnan was included as part of China, resulting in the border between Laos - China.  From Laos and Chinese documents, it was found that Laos was a tributary state of China, like other countries in Southeast Asia. LuangPrabang is the main city to send tribute to China, using a land route through Yunnan to Beijing. The factors of Laos - China political relationships inthis period are as follows:1)Continuousgeographic space,2) The concept of Zhongguo to control and rule the native of Laos, and 3) Policy on the tribute.

References

กรมศิลปากร. (2539). ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 13. กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์.

กรมศิลปากร. (2545). ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 9. กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2005). แบบเรียนภูมิศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. เวียงจันทน์: โรงพิมพ์ศึกษา.

เขียน ธีระวิทย์. (2547). วิวัฒนาการการปกครองของจีน = A political history of China. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คณะโฆษณาอบรมศูนย์กลางพรรค. (2015). สปป. ลาว 40ปี 1975 – 2015. เวียงจันทน์: คณะโฆษณาอบรมศูนย์กลางพรรค.

คำ จำปาแก้วมณี. (2539). ประวัติศาสตร์ลาว (สุวิทย์ ธีรศาศวัต, ผู้แปล). ขอนแก่น: ภาควิชาประวัติศาสตร์และโบราณคดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

คำเพา พอนแก้ว. (2012). ปะหวัดสาดลาว โดยหย้อ. เวียงจัน: โรงพิมสีสะหวาด.

จอห์น เค แฟร์แบงค์. (2550). เอเชียตะวันออกยุคใหม่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.

เจมส์ เอฟ แม็คคาร์ธี่. (2533) บันทึกการสำรวจและบุกเบิกในแดนสยาม [Surveying and Exploring in Siam] ( สุมาลี วีระวงศ์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรมแผนที่ทหาร.

เจียงอิ้งเหลียง. (2534). ประวัติชนชาติไท ตอนที่ 2 (คณะกรรมการสืบค้นประวัติศาสตร์ไทยเกี่ยวกับจีนในเอกสารภาษาจีน สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ สมถวิล ลือชาพัฒนพร, (บรรณาธิการ). (2549). เอกสารสรุปการสัมมนาวิชาการ "30 ปีความสัมพันธ์ไทย-จีน 600ปีซำอกง/เจิ้งเหอ กับอยุธยาและอุษาคเนย์".สมุทรปราการ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.

ทิพพะวงศ์ วงศ์โพสี. (2552). นโยบายต่างประเทศของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวต่อสาธารณรัฐประชาชนจีนในยุคหลังสงครามเย็น 1992-2008. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เฝิงอิ่วหลัน. (2553). วรรณกรรม ปรัชญาจีนจากขงจื่อถึงเหมาเจ๋อตง (ส. สุวรรณ., ผู้แปล). กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.

ภมร ภูผิวผา. (2561). พลวัตของเมืองเวียงจันทน์ในสมัยจารีต (ค.ศ. 1560 - 1893). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

โยชิยูกิ มาซูฮารา. (2546). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของราชอาณาจักรลาวล้านช้าง: สมัยคริสต์ศตวรรษที่14-17 จาก "รัฐการค้าภายในภาคพื้นทวีป" ไปสู่ "รัฐกึ่งเมืองท่า". กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.

ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน. (2556). มณฑลยูนนาน. Retrieved from https://www.thaibizchina.com/country/yunnan/.

สมสำเร็จ ทวีคำ. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างลาวกับจีน ยุคหลังสงครามเย็น. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สมิธ, เฮอร์เบิร์ท วาริงตัน. (2544) ห้าปีในสยาม เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.

สวีอิ๋น หลิว. (2561). การอพยพของชาวยูนนานเข้าสู่ประเทศลุ่มน้ำโขงในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

สืบแสง พรหมบุญ. (2525). ความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนกับไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์.

สุเนด โพทิสานและหนูไซ พูมมะจัน (2000). ประวัติศาสตร์ลาว (ดึกดำบรรพ์ - ปัจจุบัน). เวียงจันทน์: โรงพิมพ์แห่งรัฐ.

สุรศักดิ์ ศรีสำอาง. (2545). ลำดับกษัตริย์ลาว. กรุงเทพฯ: สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร.

สุรางค์ศรี ตันเสียงสม. (2553). อารยธรรมตะวันออก. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวรรณา สถาอานันท์. (2557). จริยศาสตร์ต่างตอบแทนในปรัชญาขงจื่อ. กรุงเทพฯ: ชวนอ่าน.

หม่องทินอ่อง. (2551). ประวัติศาสตร์พม่า [A History of Burma] (เพ็ชรี สุมิตร, ผู้แปล). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.

อรพินท์ คำสอน. (2555). 100 เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 14.กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

อู่คำ พรหมวงสา. (2500). ความเป็นมาของลาวหรือเล่าเรื่องชาติลาว. เวียงจันทน์: ยุวสมาคมแห่งประเทศ.

Carne, Louis de. (1995). Travels on the Mekong : Cambodia, Laos and Yunnan : the political and trade report of the Mekong exploration commission (June 1866 - June 1868). Bangkok: White Lotus.

Garnier, F. (1994). The French in Indo-China: with a narrative of Garnier's explorations in Cochin-China, Annam, and Tonquin. Bangkok: White Lotus.

Pavie, A. (1999). Atlas of the Pavie Mission: Laos, Cambodia,Siam, Yunnan, and Vietnam.Bangkok: White Lotus.

Wade, G. (2005). Southeast Asia in the Ming Shi-lu. Retrieved from http://epress.nus.edu.sg/msl/place/908.

Downloads

Published

2020-06-05

How to Cite

มูลเหลา ศ., เมตตาริกานนท์ ด., & บุ่นวรรณา ธ. (2020). ความสัมพันธ์ทางการเมืองลาว-จีน ภายใต้ระบบบรรณาการสมัยล้านช้าง (ในช่วง ค.ศ. 1353 – 1779) ; Laos - China Political Relationships under the Tribute System of Lan XangPeriod (AD 1353 - 1779). JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE, 9(1), 138–162. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/225807

Issue

Section

บทความวิชาการ