ความสุขในสังคมไทยทศวรรษที่ 2500 – กลางทศวรรษที่ 2510 ; Happiness in Thai Society, the 1950s - the mid-1960s

Authors

  • จารุกิตติ์ เชียงจันทร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Keywords:

ความสุข, สังคมไทย, ยุคพัฒนา, ประวัติศาสตร์อารมณ์ความรู้สึก, Happiness, Thai Society, Developmental Era, History of Emotion

Abstract

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการนี้ศึกษาความสุขในบริบทช่วงสงครามเย็นกับการพัฒนา ในช่วงทศวรรษที่ 2510-กลางทศวรรษที่ 2510 ทำให้ความสุขโดดเด่น มีบทบาท และสำคัญอย่างยิ่งในฐานะวาระของชาติ ในขณะเดียวกันก็มีการกล่าวถึง อธิปราย ตลอดจนให้ความหมายความสุขจากแวดวงต่าง ๆ ในสังคมอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นจากรัฐและผู้คน ส่งผลให้ความสุขมีความสลับซับซ้อนและหลากหลายมากขึ้น ซึ่งทั้งนี้อาจจะมีความแตกต่างหรือเหมือนกันก็ได้ อย่างไรก็ตามบทความนี้มีจุดประสงค์คือการทำความเข้าใจความสุขในสังคมไทยยุคพัฒนา โดยการใช้วิธีวิทยาแบบประวัติศาสตร์อารมณ์ความรู้สึก เพื่อแสดงว่าความสุขเป็นอีกปริมณฑลหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมของสังคมด้วยเช่นกัน สำหรับบทความนี้จะกล่าวถึง 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) ว่าด้วยการขับเน้นความหมายความสุขในกระแสธารของโลกเสรี องค์การระหว่างประเทศ ที่มีผลต่อการกำหนดคำนิยามในสังคมไทยยุคพัฒนา (2) จุดเน้นและสาระสำคัญเกี่ยวกับความสุขจากทัศนะของบุคคลสำคัญของประเทศ (3) ลักษณะการรับรู้และความเข้าใจความสุขของผู้คนในสังคม และ (4) การตอบโต้ความสุขของรัฐ

 

Abstract

          This is an academic article on Happiness in Thai society during the 1950s- the mid-1960s, an era of development and the Cold war in Thailand, “Happiness” was in reputation as a crucial agenda of the nation and was also a significant part of changing socio-economic and culture. In the meanwhile, “Happiness” was more complicated and diverse because of state and people roles in the production of its meaning - either of its value was conformable or different depending on their experience. The purpose of this article is to understand “Happiness” in an historical context, especially History of Emotion as a method. In consequence of this conditional phenomenal has brought “Happiness” sophisticated in various parts of the society. Thus, this article will discuss (1) the concept of “Happiness” in the context of the Cold War under United States and International actors domination, (2) the focus of the essential meaning from Thai Influencers, (3) some examples of people acknowledgment and understanding about it, and (4) some debates of the state’s approaches.

References

กุสุมา (นามปากกา). (2501). สหประชาชาติกับสันติภาพของโลก. ตำรวจ, 27 (24), 1-5.

คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี. คณะที่ 32 พลเอกถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2512.

_______. คณะที่ 31 พลเอกถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม 2506-11 มีนาคม 2511 แถลงนโยบายเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2506.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2554). วาทกรรมการพัฒนา: อำนาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความเป็นอื่น (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: วิภาษา.

________. (2557). รัฐศาสตร์แนววิพากษ์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐกับกนกพร นิตย์นิธิพฤทธิ์ (บรรณาธิการ).(2553). ความสุข: มณฑลความรู้ใหม่ในทฤษฎีเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: บริษัทเอดิสันเพรส โปรดักส์ จำกัด.

เดือน บุนนาค ฮัต เจสสัน และทวี ตะเวทิกุล.(2477). เศรษฐศาสตร์. เอกสารคำสอนภาค 5 ขั้นปริญญาตรี มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.

ถนอม กิตติขจร. (2514). คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรี เนื่องในวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช 2514. ออมสินสาร, 21 (1), น. 13-15.

ทวีศักดิ์ เผือกสม. (2561). เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: Illuminations Editions.

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2559). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ [Thailand: The politics of Despoyic Paternalism] (พิมพ์ครั้งที่ 4) (พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคณะ แปล). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.

ธนาคารแห่งประเทศ. (2518). เดชสนิทวงศ์, ในอนุสรณ์การพระราชทานเพลิงศพ หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ป.จ.,ม.ป.ช., ม.ว.ม. วันที่ 17 ธันวาคม 2518. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิวพร.

ธเนศ วงศ์ยานนาวา. (2558). ปฏิวัติบริโภค จากสิ่งของฟุ่มเฟือยมาสู่สิ่งจำเป็น. กรุงเทพฯ: ศยาม.

_______. (2560). บทนำ: เสียงเรียกของมืออาชีพ ในมักซ์ เวเบอร์ (เขียน) (กมลรัตน์ ศีลประเสริฐ แปล). การยึดมั่นในอาชีพการเมือง. กรุงเทพฯ: สมมุติ.

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์.(2550). บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ. 2506-2516. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฏีบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

นนทวุฒิ ราชกาวี. (2556). ความเชื่อแบบพุทธไทยในการต่อต้านคอมมิวนิสต์ช่วง พ.ศ. 2508-2519 (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

นพพร ประชากุล.ฟูโกต์กับการสืบสาวความเป็นมาของสมัยใหม่. ในมิแซ็ล ฟูโกต์. (2558). ร่างกายใต้บงการ: ปฐมบทแห่งอำนาจในวิถีสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 3) (ทองกร โภคธรรม, ผู้แปล) กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนาโครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

บรรหาร บัณฑุกุล. (2509). ภาษีอากรกับการพัฒนาอีกที. สรรพการสาสน์, 9 (2), 4-9.

ปกป้อง จันวิทย์ (บรรณาธิการ). (2545). ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ทัศนะว่าด้วยเศรษฐกิจ.กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ประเสริฐ วงศ์พันธ์. (2506). ประชาชนยากจน. ปัญหาเศรษฐกิจโดยผู้ทรงคุณวุฒิจากกระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ, ในอนุสรณ์การพระราชทานเพลิงศพหลวงประจักษ์สัชฌุการ วันที่ 15 กรกฎาคม 2506. พระนคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดเกษมสุวรรณ.

ป๋วย อึ๊งภากรณ์. (2511). คำพูดและข้อเขียน. พระนคร: โรงพิมพ์เฟื่องอักษร.

_______. (2509ก). ความรับผิดชอบทางจริยธรรมเป็นความจำเป็นในการพัฒนา บรรยายในการสัมมนาสำหรับนิสิต นักศึกษา และอาจารย์ 150 คน ณ สำนักงานกลางนักเรียนคริสเตียน เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2509 .รัฐสภาสาร, 14 (2), 9-18.

_______. (2509ข). ปาฐกถาในการประชุมนักบัญชีทั่วประเทศ ครั้งที่ 1 วันที่ 21-23 มกราคม 2509 ณ ศาลาสันติธรรม.รายงานเศรษฐกิจรายเดือน, 6 (2), 45-53.

ปัญญา ผ่องชมพู. (2502). อินไซค์มอสโคว์. ตำรวจ, 28 (2), 2-8.

ปิ่น มุทุกันต์. (2542). เรือนชั้นใน-ชั้นนอก. กรุงเทพฯ: บริษัทสร้างสรรค์บุ๊คส์จำกัด.

_______. (2515). ปาฐกถาเรื่องจิต. ในพิมพ์งานเสด็จพระราชดำเนินพระราชทานเพลิงศพพระยาอรรถกฤตนิรุติ์ (ชม เพ็ญชาติ) ป.ม.,ท.ช. ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันอังคารที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2515. นครหลวงฯ: โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ.

ปุ๋ย โรจนะบุรานนท์. (2505). สุขภาพจิต. ในอนุสรณ์งานฌาปนกิจศพนายสุทธิพงศ์ (น้อย) สุคันธารุณ ณ วัดสังเวศวิศยาราม วันที่ 5 พฤศจิกายน 2505. พระนคร: โรงพิมพ์ข่าวพาณิชย์.

ฝน แสงสิงแก้ว. (2510). สุขภาพจิตในโรงเรียน. บรรยาย ณ โรงเรียนประถมสาธิต วิทยาลัยการศึกษาประสานมิตร. วารสารสมาคมจิตแพทย์ฯ, 3 (4), 89-112.

พระฑรรมมวโรดม. (2516). พยาธิ. ในอนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพธนัญชย์ ทัพภวิมล พ.บ., ส.ม., D.P.H. (England) ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม 22 สิงหาคม 2516 .กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สามมิตร.

พระเทพเทวี. วิทยุธรรมเทศนาเรื่องความสันโดษ. แสดง ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2494. (อัดสำเนา).

พระนิกรบดี. (2516). สาระคดีบางเรื่อง. ในบรรณาการงานพระราชทานเพลิงศพ พระนิกรบดี อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จรัลสนิทวงศ์.

พระวงศ์เธอพระองค์เจ้าวิวัฒนไชย. (2504). พระดำรัสของพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชยในการประชุมประจำปีของกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลก. ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2504. พระนคร: โรงพิมพ์จันหว่า.

พัฒนา ศิริสาคร.(2510). การเลี้ยงกล้วยไม้เป็นงานอดิเรก. ธนาธิปัตย์, 11 (1), 15.

พุทธทาสภิกขุ. (2544). ศาสนาสำหรับปัญญาชน. กรุงเทพฯ: ธรรมสภาและสถาบันลือธรรม.

_______. (2536). ผู้ครองเรือนของพุทธทาส. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.

_______. (2511). ทุกสิ่งขึ้นอยู่กับสิ่งที่เรียกว่า ‘ธรรมะ’ เพียงคำเดียว. บรรยาย ณ หอประชุม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 26 มกราคม 2511.

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. (2558). กำเนิด “ประเทศไทย” ภายใต้เผด็จการ. กรุงเทพฯ: มติชน.

ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ. (2501). ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 18. เล่ม 75 ตอนที่ 87, 1-5 (31 ตุลาคม 2501).

วรวิสุทธิ์ (นามปากกา). (2501). คอมมิวนิสท์แปรรูป. ตำรวจ, 26( 3), 1-5.

วิจารณ์ วิชัยยะ. (2516). กังวลใจ.บรรยายทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย วันที่ 1 มีนาคม 2516 (อัดสำเนา).

วิม อิทธิกูล. (2501). บทบรรณาธิการ. ยาสูบ, 9 (3), 5-6.

_______. (2503). บทบรรณาธิการ. ยาสูบ, 11 (5), 5-7.

_______. (2504). บทบรรณาธิการ. ยาสูบ, 12 (2), 5-6.

วิศรุต บวงสรวง. (2556). การเคลื่อนไหวทางความคิดของพุทธทาสภิกขุกับการเมืองไทย พ.ศ. 2516-2536 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วีระยุทธ ปีสาลี. (2557). กรุงเทพฯ ยามราตรี. กรุงเทพฯ: มติชน.

สมิทธ์ ถนอมศาสนะ. (2558). การเปลี่ยนแปลงทางความคิดของชนชั้นกลางไทยกับ “เรื่องอ่านเล่น” ไทยสมัยใหม่ ทศวรรษ 2460-2480 (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สฤษดิ์ ธนะรัชต์. (2505) ประมวลสุนทรพจน์ของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในระยะ 3 ปีแห่งการบริหารของคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2503-2505. พระนคร: โรงพิมพ์สำนักทำเนียบนายกรัฐมนตรี.

สายชล สัตยานุรักษ์. (2546). พุทธศาสนากับแนวคิดทางการเมืองใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พ.ศ. 2325-2352). กรุงเทพฯ: มติชน.

สำรอง สิทธิแพทย์. (2514). สนทนาภาษาไทย. ออมสินสาร, 21 (1), 19-25.

หลวงวิจิตรวาทการ. (2551). กำลังใจ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บริษัทสร้างสรรค์บุ๊คส์ จำกัด.

_______. (2541). วิธีทำงานและสร้างอนาคต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บริษัทสร้างสรรค์บุ๊คส์ จำกัด

หลวงวิเชียรแพทยาคม.(2506). จิตวิทยาเบื้องต้นและสังคม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อนุช อาภาภิรม. (2513, ตุลาคม). จงเกลียดมัน. ในมหาวิทยาลัย ฉบับที่ 23 ตุลาคม พุทธศักราช 2513. พระนคร: สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 134-135.

_______. (2510). ข้อคิดข้อเขียน เรื่องการแสวงหาความสุข. ชัยพฤกษ์, 14 (12), 61.

อัจฉรา กาญจโนมัย.(2523). การฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2335-2394) (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

อาภรณ์ อินทาภัย.(2509). การจัดเศรษฐกิจส่วนบุคคล. สรรพากรสาส์น, 9 (2), 48-52.

Weber, M. (1958). The Protestant Ethic and the Spirit of Capitalism (Translated and Introduction by Talcott Parsons). New York: Charles Scribner’s sons.

Downloads

Published

2020-06-02

How to Cite

เชียงจันทร์ จ. (2020). ความสุขในสังคมไทยทศวรรษที่ 2500 – กลางทศวรรษที่ 2510 ; Happiness in Thai Society, the 1950s - the mid-1960s. JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE, 9(1), 163–188. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/224183

Issue

Section

บทความวิชาการ