วิธีการบริหารจัดการวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เพื่อการท่องเที่ยว; Tourism management methods of Phra Singh WoramahawihanTemple

Authors

  • กรรณิกา คำดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Keywords:

การบริหารจัดการ, วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร, จังหวัดเชียงใหม่, Tourism Management, Phra Singh WoramahawihanTemple, Chiang Mai Province

Abstract

การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการบริหารจัดการวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เพื่อการท่องเที่ยว เป็นการวิธีวิจัยทางคุณภาพ    โดยการศึกษาข้อมูลเชิงเอกสาร   และการสัมภาษณ์เชิงลึก แบ่งออกเป็นสัมภาษณ์พระภิกษุ 3 รูป นักท่องเที่ยวจำนวน 10 คน คนในชุมชน 2 คน รวมทั้งหมด 15 คน   ผลการวิจัย พบว่า วัดมีวิธีการบริหารการจัดการ 7 ด้านคือ 1 การวางแผน 2. การจัดองค์การ 3. การจัดบุคลากรปฏิบัติงาน 4. การอำนวยการ 5. การประสานงาน 6.  การรายงาน   7. การงบประมาณ

 

Abstract

This Qualitative   research aimed at studied of Tourism management methods of WoramahawihanTemple in Chiang Mai  Province .  The documentary research combined with in-depth interview 3 Monks  10 tourists 2 community were interviewed , total fifty persons. It was analyzed bycontent and descriptive analysis It was found that the monastery deals with tourism in seven dimensions 1.Planning ; 2.  Organizing ; 3. Staffing ; 4.Directing ; 5. Coordinating;  6.Reporting ; and 7. Budgeting.

References

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2557). แนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา ปี 2557. กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนา คุณธรรมจริยธรรม กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม.
ตันติกร โคตรชารี. (2555). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวไทยในการท่องเที่ยวเชิงศาสนา พระธาตุ ประจำวันเกิด จังหวัดนครพนม. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นิลรัตน์ กลิ่นจันทร์, ประยูร สุยะใจ และพระมหานภพล เตชธมฺโม. (2552). ศึกษาศาสนสถานที่ สำคัญต่อการอนุรักษ์การท่องเที่ยวของวัดในกรุงเทพมหานคร. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุรศักดิ์ ศิลาวรรณา. (2550). การท่องเที่ยวและการเผยแพร่พระพุทธศาสนา : บทบาทของวัดใน เขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา วัดบวรนิเวศวิหารและวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.
พระครูวิมลศิลปกิจ ดร.ฤทธิชัย แกมนาค และนายนเรศร์ บุญเลิศ. (2555) : การศึกษารูปแบบและ สภาพแหล่งเรียนรู้ของวัดที่เป็น แหล่งท่องเที่ยว ในจังหวัดเชียงราย มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา ห้องเรียนวัดพระแก้ว จังหวัดเชียงราย.
พระสมุห์อนุรักษ์ ธีรสกฺโก (ช้างเมือง). (2555) . การพัฒนาวัดเพื่อการท่องเที่ยวเชิงพุทธในจังหวัด สมุทรสาคร. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารจัดการคณะสงฆ์) มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย.
บุญพิเชษฐ์ จันทร์เมือง. (2553). การจัดการการท่องเที่ยวในพระอารามหลวงชั้นเอก ในเกาะ รัตนโกสินทร์. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (สาขาวิชาการวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยว เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญเสริม สาตราภัย “ลานนาไทยในอดีต” ,2522
สุเทพ พงษ์ศรีวัฒน์. (2544). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎี และปฏิบัติ. เชียงราย: สำนักพิมพ์สถาบันราชภัฏ
เชียงราย.
Gulick, L. H. (1937). Notes on the Theory of Organization. In L. Gulick & L. Urwick (Eds.),
Papers on the Science of Administration (pp. 3–45). New York: Institute of Public
Administration.
https://www.chiangmai-thailand.net, https://th.wikipedia.org

Downloads

Published

2019-05-24

How to Cite

คำดี ก. (2019). วิธีการบริหารจัดการวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เพื่อการท่องเที่ยว; Tourism management methods of Phra Singh WoramahawihanTemple. JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE, 8(1), 95–109. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/190835

Issue

Section

บทความวิจัย