กลวิธีทางวาทศาสตร์ในคำขวัญสิ่งแวดล้อมภาษาจีน ; An Analysis of Chinese Rhetoric in Environmental Slogan

Authors

  • กัลยาณี กฤตโตปการกิต khonkaen

Keywords:

กลวิธีทางวาทศาสตร์, คำขวัญสิ่งแวดล้อม, ภาษาจีน, rhetoric, environmental slogan, Chinese language

Abstract

บทคัดย่อ

          ศตวรรษที่ 21 เป็นยุคที่นานาประเทศต่างให้ความสนใจในด้านสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นหน้าที่ของประชาชนทุกคน รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างก็มีนโยบาย และกลวิธีต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการใช้คำขวัญและป้ายเตือนเพื่อเป็นการรณรงค์ โดยคำขวัญและป้ายเตือนเหล่านี้ต่างแฝงด้วยกลวิธีทางวาทศาสตร์ อันเป็นกลวิธีเพื่อกระตุ้นจิตสำนึกทางสิ่งแวดล้อม จากการศึกษาการใช้ภาษาในคำขวัญสิ่งแวดล้อมของจีน พบว่า ในด้านเสียง คำขวัญสิ่งแวดล้อมภาษาจีนมีการใช้ฉันทลักษณ์ พยางค์เสียง เสียงสัมผัสในคำขวัญ ในด้านคำและความหมาย มีการใช้คำและประโยคสั้น ๆ และมีการใช้คำแสดงถึงทัศนคติในการเป็นสังคมที่มีความสามัคคี ใช้สีแสดงความหมายถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในด้านไวยากรณ์มีการใช้โครงสร้างประโยคเดี่ยว โครงสร้างประโยคถ้อยคำคู่ โครงสร้างประโยคเรียง โครงสร้างประโยคคู่ขนาน และโครงสร้างประโยคเพิ่มทวี โดยปรากฏในรูปแบบประโยคคำสั่ง ประโยคขอร้อง ประโยคบอกเล่า ประโยคแสดงความรู้สึกและประโยคคำถาม ทั้งนี้การวิเคราะห์กลวิธีทางวาทศาสตร์จากลักษณะเด่นทางโครงสร้าง ลักษณะเด่นทางหน้าที่ และลักษณะเด่นทางภาษา พบว่า กลวิธีทางวาทศาสตร์ที่ปรากฏในคำขวัญสิ่งแวดล้อมของจีน คือ กลวิธีการอุปมา อุปไมย อุปลักษณ์(比喻)อติพจน์(夸张)การพ้อง(双关)สัมพจนัย(借代)การเรียงถ้อยคำ(排比)การทวน(顶真)การซ้ำคำ(反复)และการใช้ถ้อยคำคู่(对偶)

 

Abstract

          In the 21st century, many countries have focused on environment, and all people are responsible for environmental conservation. Governments and associated agencies also have policies and strategies to promote conscience in environmental conservation. Moreover, slogans and signs are applied in campaigns. In particular, rhetoric is hidden in those slogans and signs to promote conscience in environmental conservation. According to this study, the results revealed that prosody was implemented in Chinese environmental slogans. In terms of word usage, short words and short sentences were employed. In terms of meaning, words describing the unity in society were used in the slogans. Additionally, colors were applied in order to represent the environmental conservation. In terms of syntax, the sentence structures found in Chinese environmental slogans involved: simple sentence, compound sentence, parallelism, sentence with addition linking words, and double comparatives. In addition, those sentence structures used in the slogans appeared in various forms, including imperative sentence, requests, declarative sentence, sentences expressing emotions, and interrogative sentence. The analysis of the rhetoric from structure, function, and language revealed that the rhetoric used in Chinese environmental slogans consisted of metaphor (比喻), hyperbole (夸张), double meaning (双关), metonymy (借代), parallelism (排比), anadiplosis (顶真), repetition (反复), and antithesis (对偶).

References

พิริยา สุรขจร. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีทางวาทศาสตร์เชิงอุปมาของสำนวนจีนทางพุทธศาสนากับสำนวนไทยที่มีความหมายใกล้เคียงกัน.วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 8 (2), 36 - 73.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2554). คำขวัญ. ค้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2561, จาก
https://www.royin.go.th/dictionary/index.php
วิกิพีเดีย. (2560). คำขวัญ. ค้นเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2561, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/คำ
ขวัญ
曹红蓓 (Cao Hongbei). (2004). 新标语:人本思想下的温情表述 (สโลแกนใหม่:การแสดง
ความรู้สึกภายใต้ความนึกคิดของมนุษย์). 新闻周刊,(26).

陈方敏 (Chen Fangmin) . (2016). 现代汉语警示语研究 (การศึกษาคำเตือนภาษาจีน). 宁夏大学硕士学位论文.
陈佩 (Chen Pei). (2010). 浅析中外环境保护标语修辞手法的不同 (การศึกษาความแตกต่างด้าน
กลวิธีทางวาทศาสตร์ในคำขวัญสิ่งแวดล้อมของจีนและต่างประเทศ). 现代交际, (5), 55-56.
成金 (Cheng Jin) . (2018). 2017年环保宣传标语 (คำขวัญสิ่งแวดล้อมปี ค.ศ.2017). ค้นเมื่อวันที่ 15
กรกฎาคม พ.ศ. 2561, จาก https://www.yuwenmi.com/biaoyukouhao/625260.html
程裕祯 (Cheng Yuzhen). (1998). 中国文化要略 (ลักษณะทั่วไปของวัฒนธรรมจีน). 第2版. 北京: 北
京教学与研究出版社.
池昌海 (Chi Changhai). (2014). 现代汉语语法修辞教程 (ตำราไวยากรณ์วาทศาสตร์ในภาษาจีน
ปัจจุบัน). 第3版. 浙江: 浙江大学出版社.
高永晨 (Gao Yongchen) . (2009). 从跨文化角度看世界环境日主题标语与中国环保标语
(การศึกษาเปรียบเทียบสโลแกนด้านสิ่งแวดล้อมในวันสิ่งแวดล้อมโลกของนานาชาติกับประเทศจีน โดยศึกษาผ่านมุมมองการสื่อสารต่างวัฒนธรรม). 外语与外语教学, (9), 28-31.
胡范铸 (Hu Fanzhu)、聂桂兰 (Nie Guilan) 、陈佳璇 (Chen Jiaxuan) 、张佳 (Zhang Jia).
(2004). 中国户外标语口号研究的问题、目标与方法 (การศึกษาปัญหา วิธีการและ
วัตถุประสงค์ในการศึกษาคำขวัญสิ่งแวดล้อมจีนประเภทป้ายคำขวัญกลางแจ้ง) . 修辞学习, (6), 26-29.
廖联思 (Liao Liansi) 、赵世举 (Zhao Shiju). (2015). 对环境保护的警示语在表达方式上的
微探 (การศึกษารูปแบบคำเตือนด้านสิ่งแวดล้อม). 广西政法管理干部学院学报, (1), 116-123.
聂桂兰 (Nie Guilan) . (2004). 标语口号在乡村——江西吉安乡村户外标语口号的田野调查
(คำขวัญในชนบท—กรณีศึกษาป้ายคำขวัญกลางแจ้งในชนบท เมืองอันจี มณฑลเจียงซี). 中国会议. 江西省语言学会2004年年会论文集, 134-144.
瞿楠 (Qu Nan). (2005). 隐藏在“标语”背后的世界——对学校文化的哲学透析 (สิ่งที่ซ่อนอยู่ใน “คำขวัญ”--ปรัชญาของวัฒนธรรมในโรงเรียน). 西北师范大学硕士学位论文。
屈志凌(Qu Zhiling). (2007). 浅谈标语口号的语言特色 (การศึกษาลักษณะเด่นของภาษาในคำขวัญ).
读与写(教育教学刊) , (6), 7.
屠海波 (Tu Haibo). (2007). 汉语标语研究 (การศึกษาคำขวัญในภาษาจีน). 黑龙江大学硕士学位
论文.
万鹏 (Wan Peng)、景玥 (Jing Yue) . (2017). 关于十九大报告 (การประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งที่19),你必须知道的“关键词”. ค้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2561, จาก https://cpc.people.com.cn/19th/n1/2017/1018/c414305-29595155.html
徐妙珍 (Xu Miaozhen) . (2013). 现代汉泰语修辞格对比研究 (การศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีทางวาทศาสตร์ภาษาจีนกับภาษาไทย). 西南大学博士学位论文.

姚鑫隆 (Yao Xinlong). (2001). 浅谈标语写作的要求 (การศึกษาเกณฑ์การแต่งคำขวัญ). 江西社会
科学 , (8), 95 - 97.
张佳 (Zhang Jia). (2004). 上海市区户外非商业性标语口号有效性的社会语言学调查和
分析 (ประสิทธิผลของคำขวัญกลางแจ้งที่ไม่ใช้ในทางธุรกิจในมหานครเซี่ยงไฮ้—การสำรวจและวิเคราะห์
ผ่านมุมมองภาษาศาสตร์สังคม) 华东师范大学硕士学位论文.
张金茹 (Zhang Jinru). (2013). 生态环保标语研究 (การศึกษาคำขวัญสิ่งแวดล้อม). 哈尔滨师范
大学硕士学位论文.
张萍 (Zhang Ping). (2006). 现代汉语标语语法研究 (การศึกษาไวยากรณ์ในคำขวัญภาษาจีนปัจจุบัน).
南京师范大学硕士学位论文.
张琪昀 (Zhang Qiyun) . (1983). 标语语言初探 (การศึกษาภาษาในคำขวัญเบื้องต้น). 汉语学习, (4) ,
43 - 55.
中国共产党新闻网 (Zhongguo Gongchandang Xinwenwang; cpcnews) .2017. 习近平总书记
创新社会治理的新理念新思想 (แนวความคิดใหม่การปกครองสังคมใหม่ของสี จิ้นผิง). 搜索
时间2018.12.20,信息来自https://theory.people.com.cn/n1/2017/0817/c83859-29476974.html
中国社会科学院语言研究所词典编辑室 (Zhongguo Shehui Kexueyuan Yuyan Yanjiusuo
Cidianbianjishi; Institute of the Chinese academy of sciences language dictionary
templates). 2012. 现代汉语词典 (พจนานุกรมภาษาจีนปัจจุบัน). 第六版.北京:商务印书馆.
周伟 (Zhou Wei) . (2003). 标语口号:时代呐喊最强音 (คำขวัญ:เสียงสะท้อนอันมีพลังของยุคสมัยใหม่). 北京:光明日报出版社.
朱自清 (Zhu Ziqing). (2004). 论标语口号 (คำขวัญ). 出版参考, (35), 37.

Downloads

Published

2019-11-24

How to Cite

กฤตโตปการกิต ก. (2019). กลวิธีทางวาทศาสตร์ในคำขวัญสิ่งแวดล้อมภาษาจีน ; An Analysis of Chinese Rhetoric in Environmental Slogan. JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE, 8(2), 64–99. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/172669

Issue

Section

บทความวิจัย