จำปาสัก : พลวัตวัฒนธรรมพุทธศาสนากับการปะทะปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ (พุทธทศวรรษ 2250-2450); Champasak: The Dynamic Culture of Buddhism and Ethnic Interaction (BC Decade 2250-2450)
Keywords:
Champasak, Buddhism culture and ethnic dynamicAbstract
บทความนี้ต้องการอภิปรายการขยายเข้ามาของวัฒนธรรมพุทธศาสนาแบบลาวล้านช้างในนครจำปาสักจนก่อรูปเป็นรัฐพุทธศาสนา (พุทธทศวรรษ 2250-2450) อันส่งผลต่อการครอบงำความเชื่อและวัฒนธรรมของชนพื้นเมือง (ข่า) ตลอดถึงสร้างการปะทะปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ ในด้านหนึ่งยังผลให้เกิดลำดับชั้นโครงสร้างวัฒนธรรมลาว-ข่า ตามตัวแบบของอารยธรรม-อนารยธรรม โดยที่วัฒนธรรมพุทธศาสนา (ลาว) เป็นวัฒนธรรมครอบงำปรับเปลี่ยนชนพื้นเมือง แต่ในบริบทของอาณานิคม วัฒนธรรมพุทธศาสนาผสมผสานความเชื่อท้องถิ่นได้ถูกใช้เป็นพลังต่อต้านการถูกกดขี่จากอาณานิคมสยามและฝรั่งเศส พร้อมกับเป็นกลไกในการช่วงชิงวัฒนธรรมในการสร้างความชอบธรรมทางการปกครองด้วย อันสะท้อนให้เห็นว่า วัฒนธรรมพุทธศาสนาเถรวาทท้องถิ่น (ลาว) มีลักษณะพลวัตทั้งการครอบงำทางการเมืองและสร้างการปะทะสังสรรค์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในเวลาเดียวกัน
Abstract
This article aimed to discuss the expansion of the influence of Lao Buddhist culture in Champasak formed a Buddhist state (decade 2250-2450). It has affected to dominate indigenous (Kha) belief and culture and has created the interaction between ethnic groups. On one side, it results in the hierarchy of cultural structure between Lao-Kha according to savage-civilization system. On the other Side, in the colonial power, Buddhism culture, combined with local beliefs, has been used as a strategy for creating local power to resist the press and integration into the colonail system. These have reflected that local Theravada Buddhism culture (Laos) has a dynamic appearance for both dominance and creating cultural interaction in ethnic groups at the same time.
References
เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2558). ชุมชนชาติพันธุ์ "บรู" ร่วมสมัยบนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว: วิถีชีวิตและการปรับตัวทางวัฒนธรรม. (ดุษฎีนิพนธ์ สาขามานุษยวิทยา), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ.
เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). ตำนาน "พระแก้วผลึกหมอก" : การเปรียบเทียบความหมายในบริบทวัฒนธรรมสยาม บรู และลาว. วารสารศิลปศาสตร์, ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2561, 196-220.
จิตร ภูมิศักดิ์. (2556). ประวัติความเป็นมาของคำสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
เติม วิภาคย์พจนกิจ. (2530). ประวัติศาสตร์อีสาน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2556). กำเนิดสยามจากแผนที่ : ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ (พวงทอง ภวัครพันธุ์ ไอดา อรุณวงศ์ และพงษ์เลิศ พงษ์วนานนท์, Trans.). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คบไฟ.
ธิดา สาระยา. (2538). อาณาจักรเจนละ : ประวัติศาสตร์อีสานโบราณ: กรุงเทพฯ : มติชน.
บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. (2503). ราชอาณาจักรลาว: กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย.
พระพรหมมุนี (ติสโส อ้วน). (2479 ). ตำนานวัดสุปัฏนาราม. อุบลราชธานี: วัดสุปัฏนาราม
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท). (2527). สิริจันโทวาทยอดคำสอน (ปรีชา พิณทอง บรรณาธิการ). อุบลราชธานี: ศิริธรรมออฟเซ็ท.
สุวิทย์ ธีรศาศวัต. (2543). ประวัติศาสตร์ลาว 1779-1975: กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์.
หม่อมอมรวงศ์วิจิตร (ม.ร.ว.ปฐม คเณจร). (2484). พงศาวดารนครจำปาศักดิ์ฉบับหม่อมอมรวงศ์วิจิตร (ม.ร.ว.ปฐม คเณจร), ประชุมพงศาวดารภาคที่ 70 เรื่องเมืองนครจำปาศักดิ์. กรุงเทพฯ: ศิลปากร.
Amonier, E. (2000). Isan Travels: Northeat Thailand’s Economy in 1883-1884 (Walter E.J. Tips, Trans.). Bankok: White Lotus.
Baird, I. G. (2008). Various froms of colonialism: the social and spatial reorganisation of the Brao in southern Laos and northeastern Cambodia. (The Degree of Doctor of Philosophy), The University of British Columbia, Colombia.
Garbarino, M. S. (1977). Soicocultural theory in anthropology : A Short History. New York: Holk, Rinehart and Winston.
Schliesinger, J. (c2003). Ethnic groups of Laos. Bangkok: White Lotus Press.
Scott, J. c. (2009). The Art of Not Being Governed: An Anarchist History of Upland Southeast Asia. United States: Yale University Press.
รายชื่อผู้ให้สัมภาษณ์
ท้าวแก่น แก้วปันยา. บ้านโนนพระเจ้า เมืองโพนทอง จำปาสัก สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.มีนาคม 2561
ท้าวคำผุย. บ้านลาดเสือ เมืองซะนะสมบูน สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.พฤษภาคม 2560
ท้าวคีม. เมืองปากซ่อง แขวงจำปาสัก สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.ตุลาคม 2561.
ท้าวชู จินดาสิด. บ้านสว่าง เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.มีนาคม 2560.
ท้าวแต้ จินดามณี. เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก. สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.มีนาคม 2560
ท้าวเนือง. บ้านโนนพระเจ้า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. พฤษภาคม 2561.
ท้าววิไน ดวงปันยา. บ้านโนนพระเจ้า เมืองโพนทอง จำปาสัก สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.มีนาคม 2561
ท้าวสิงห์ จินดาสิด. บ้านสว่าง เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.มีนาคม 2560
นางติง แก้วมณี. บ้านหนองบึง เมืองปทุมพร จำปาสัก สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. พฤษภาคม 2561
นางลิน ซุมจัน. บ้านโนนพระเจ้า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สัมภาษณ์โดย เกียรติศักดิ์ บังเพลิง.มีนาคม 2561