การปรับตัวพุทธศาสนาในอีสานท่ามกลางการแพร่กระจายแนวคิด แบบพระสายวัดป่าธรรมยุติกนิกาย; The Adaptation of Isan Buddhism in the Midst of Propagation of the Concept of Forest Monks in Dhammayuttikanikaya

Authors

  • ธีระพงษ์ มีไธสง สาขาวิชา ศาสนาและภูมิปัญญาเพื่อการพัฒนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Keywords:

การปรับตัว, พุทธศาสนาในอีสาน, การแพร่กระจาย, ธรรมยุติกนิกาย, Adaptation, Isan Buddhism, Propagation, Dhammayuttikanikaya

Abstract

        บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ถึงการปรับตัวพุทธศาสนาในอีสานท่ามกลางการแพร่กระจายแนวคิดแบบธรรมยุติกาย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช้เครื่องมือคือการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายจำนวน 36 รูป/คน  วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์ข้อมูลเนื้อหาเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า ธรรมยุติกนิกายเกิดขึ้นท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างมีนัยยะสำคัญ เมื่อแพร่กระจายไปยังหัวเมืองอีสานซึ่งมีพุทธศาสนาแบบชาวบ้านอีสานอยู่ก่อนแล้ว ภายใต้การสนับสนุนจากกลไกรัฐไทย ทำให้แนวคิดแบบธรรมยุติกนิกายโดยการนำของพระสายวัดป่าได้รุกคืบมายังดินแดนอีสานส่งผลต่อพุทธศาสนาแบบอีสานอย่างมาก จนนำไปสู่การปรับตัวทั้งในแง่ของการเผชิญหน้าจนนำไปสู่ความตึงเครียดหลายพื้นที่ในอีสาน เกิดการต่อรองและการช่วงชิง และการโต้แย้งเพื่อตอบโต้ทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมถึงเกิดการประนีประนอมจนนำไปสู่การปรับตัวเพื่อสร้างอัตลักษณ์ใหม่ของพุทธศาสนาแบบอีสาน

 

                                                                                           Abstract

        This research article aims to analyze the adaptation of Isan Buddhism in the midst of Propagation of Dhammayuttikanikaya. The in-depth interview was used as the tool for data collection from the target groups of 36 persons. Its result was found that Dhammayuttikanikaya was set up in the midst of political change significantly and expanding to the northeastern by supporting of state power resulting to adaptation of popular Buddhism by contestation encounter and compromise for creating new identity of Buddhism in Isan.         

References

ชิเกฮารุ ทานาเบ. (2555). พิธีกรรมและปฏิบัติในสังคมชาวนาภาคเหนือของประเทศไทย. เชียงใหม่ :
ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เติม วิภาคย์พจนกิจ. (2546). ประวัติศาสตร์อีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธีระพงษ์ มีไธสง. (2557). ฮดสรง ภูมิปัญญาพื้นบ้านพิธีเถราภิเษกพระสงฆ์ในภาคอีสาน. มหาสารคาม
: อภิชาตการพิมพ์.
เปรมวิทย์ ท่อแก้ว. (2534). การก่อตั้งและขยายวงศ์ของธรรมยุติกนิกายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
(พ.ศ. 2394-2473). อักษรศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระพรหมมุนี. (2479). ตำนานวัดสุปัฏนาราม. ที่ระลึกในงานผูกพัทธสีมาและฉลองพระอุโบสถ
วัดสุปัฏนาราม จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2479.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2465). ตำนานวัดบวรนิเวศ. กรุงเทพฯ :
โสภณพิพรรฒธนากร.
หมุน โสมะฐิติ. (2505). ประวัติวัดศรีทองและเมืองอุบลราชธานี (อย่างสังเขป). พิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในงานฉลองอายุครบ 80 ปี ของท่านเจ้าคุณพระศรีธรรมวงศาจารย์ สถิต ณ วัดสุปัฏนาราม
เมืองอุบลราชธานี วันที่ 6 มกราคม 2505.
Kamala Tiyavanich. (1997). Forest recollections : Wandering monks in
twentieth-century Thailand. Chiang Mai : Silkworm Books.
Tanabe, S. and C. Keyes. (2002). Cultural Crisis and Social Memory : Modernity and
Identity in Thailand and Laos. London : Routledge Curzon.
Taylor, J.L. (1996). Forest Monks and The Nation-State An Anthropological
Historical Study in Northeastern Thailand. Singapore. Institute of Southeast Asian Studies.

Downloads

Published

2019-05-24

How to Cite

มีไธสง ธ. (2019). การปรับตัวพุทธศาสนาในอีสานท่ามกลางการแพร่กระจายแนวคิด แบบพระสายวัดป่าธรรมยุติกนิกาย; The Adaptation of Isan Buddhism in the Midst of Propagation of the Concept of Forest Monks in Dhammayuttikanikaya. JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE, 8(1), 156–175. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/164958

Issue

Section

บทความวิจัย