การวิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ตามหลักพุทธจริยศาสตร์; An Analysis of the Assisted Reproductive Technology in Buddhist Ethics

Authors

  • รัตนะ ปัญญาภา สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

Keywords:

พุทธจริยศาสตร์, เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์, Buddhist ethics, Assisted reproductive technology

Abstract

การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาเชิงจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ 2) วิเคราะห์ปัญหาเชิงจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ตามหลักพุทธจริยศาสตร์ และ 3) วิเคราะห์การตัดสินปัญหาขัดแย้งเชิงจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ตามหลักพุทธจริยศาสตร์ เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิจัยเชิงเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัญหาเชิงจริยธรรมที่พบในทุกรณีคือการทำลายตัวอ่อน ปัญหาสถานะของพ่อแม่ที่แท้จริง การทำลายศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 2) ปัญหาเชิงจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ตามหลักพุทธจริยศาสตร์ มี 3 ประเด็น คือ การระบุสถานะความเป็นบิดามารดาของเด็กที่เกิดโดยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ การทำลายศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และการค้ามนุษย์ ซึ่งจำเป็นต้องวินิจฉัยตามหลักพุทธจริยศาสตร์ 3) การตัดสินปัญหาจริยธรรมมี 2 ประเด็นคือ (1) พิจารณาจากเกณฑ์หลัก คือ เจตนา ถ้ามีการทำลายตัวอ่อนถือเป็นการฆ่า การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์เพื่อหวังช่วยผู้อื่นสามารถยอมรับได้ในเชิงจริยธรรม (2) พิจารณาจากเกณฑ์ร่วม พบว่า การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ที่ก่อให้เกิดการตำหนิตัวเอง วิญญูชนและสังคมไม่ยอมรับ มีโทษต่อสังคม ถือว่าผิดศีลธรรม. ส่วนเรื่องสถานะความเป็นพ่อแม่ หญิงชายผู้เป็นเจ้าของเชื้อกำเนิดคือพ่อแม่ของเด็กที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ถ้าทำเพื่อการค้าหรือใช้มนุษย์เป็นเครื่องมือ ถือเป็นการค้ามนุษย์และทำลายศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในพุทธจริยศาสตร์

Abstract
                  The assisted reproductive technology has many hidden moral issues. Therefore, the research on them was conducted in the perspective of Buddhist ethics by the qualitative research method with 3 objectives: 1) to study ethical problems in reproductive technology; 2) to analyze ethical issues in the reproductive technology in accordance with Buddhist ethics; and 3) to analyze the judgment of ethical dilemmas in the assisted reproductive technology according to Buddhist ethics. The data was collected and analyzed by documentary research method. The research findings were as follows: 1) Ethical problems found in all reproductive technology include the destruction of embryos, the status of true parents, and the destruction of human dignity. 2) Ethical issues in the assisted reproductive technology in Buddhist ethics have three aspects: the identification of parental status of children born under reproductive technology, the destruction of human dignity, and human trafficking, which should be diagnosed according to Buddhist ethics. 3) The issue of ethical issues in reproductive technology is twofold; (1) based on the main ethical judgment, the intentional destruction of the embryo is a killing, and the Altruistic reproductive technology is ethically acceptable; (2) based on the secondary ethical judgment, the assisted reproductive technology that caused the self-criticism, unaccepted by the enlightened persons and social members and harmed to the society is immoral. The parental status of children born under assisted reproductive technology: the donor of
sperm and ovum is the parent of children born under the reproductive technology. The commercial assisted reproductive technology treating human as the object or tool is recognized as the human trafficking and human dignity destruction in Buddhist ethics.

Author Biography

รัตนะ ปัญญาภา, สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

ผศ.ดร.รัตนะ ปัญญาภา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
เปรียญธรรม ๙ ประโยค (ป.ธ.๙)

อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (จริยศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล)

พุทศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 

References

กมลา เทพวงค์. (2556). การคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (อุ้มบุญ). เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร ผู้พิพากษาผู้บริหารในศาลชั้นต้น รุ่นที่ 11 สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมสำนักงานศาลยุติธรรม พ.ศ.2556.
เกียรติศักดิ์ ดวงจันทร์. (2557). “พุทธจริยศาสตร์กับการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 6(1): 185-198.
คณะกรรมการกองตำรา มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2526). วิสุทธิมรรคแปล ภาค 3. พระนคร: โรงพิมพ์มหา มกุฏราชวิทยาลัย.
---------. (2555). มงฺคลตฺถทีปนี (ปฐโม ภาโค). พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
ชมพรรณ์ รัตนากร. (2543). จากการผสมเทียมกับปัญหาความรับผิดชอบในทางอาญา. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ดวงดาว กีรติกานนท์. (2548). “จริยศาสตรกับการทําโคลนนิ่งมนุษย์”. BU-Academic Review. 4(1): ม.ป.น.
ธัญญลักษณ์ เบ็ญจะมะโน เตชะวุฒิพันธุ์. (2555). “การคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ : ศึกษาเปรียบเทียบจากกฎหมายและคำพิพากษาของประเทศสหรัฐอเมริกา”. วารสารกฎหมายเปรียบเทียบศาลยุติธรรม. 4(1): 139-163.
ธัญรดี ไตรวัฒนวงษ์ และ พินิจ รัตนกุล. (2551). ปัญหาจริยธรรมและปัญหากฎหมาย : การรับตั้งครรภ์แทน. รายงานการวิจัยวิทยาลัยพุทธศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
นเรศ ดำรงชัย. (2558). ชีวจริยธรรมของการวิจัยด้านเซลล์ต้นกำเนิดจากแนวคิดสู่แนวทางปฏิบัติสำหรับประเทศไทย. เชียงใหม่ : สำนักงานจริยธรรมการวิจัย (Office of Research Ethics) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นันทน อินทนนท์ และ จักรกฤษณ์ ควรพจน์. (2544). “การโคลนมนุษย์ : ปัญหากฎหมายและจริยธรรม”. วารสารบทบัณฑิตย์. 57(1): 66-85.
นุกูล สัญฐิติเสรี. (2555). “การพิจารณากฎหมายว่าด้วยคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันหรือการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (กฎหมายอุ้มบุญ)”. รัฐสภาสาร. 60(4): 77-108.
นุชนาฏ หวนนางกลาง และคณะ. (2555). การศึกษาการเข้าถึงข้อมูลและบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น : กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี. รายงานการวิจัยศูนย์เฝ้าระวังปัญหาสุขภาพและสาธารณสุข วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปทิตตา ไชยปาน. (2557). “ปัญหาการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์กับศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์”. วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์. 8(1): 122-135.
ประยงค์ แสนบุราณ. (2555). พระพุทธศาสนาเถรวาท. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประเวศ วะสี. (ม.ป.ป.). พุทธธรรมกับสังคม. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.
พนารัตน์ สิริคุณาลัย. (2554). Medical Ethics in BO-GYN. เชียงใหม่: ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2539). ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2557). พุทธธรรม (ฉบับปรับขาย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2525). ปรมัตถโชติกา : มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริเฉทที่ 5 เล่ม 20. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สุทธิสารการพิมพ์.
พระโสภณ โสภโณ. (2551). การโคลนมนุษย์ในมุมมองของพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทและผลกระทบทางสังคมในมุมมองของนักการศาสนาและนักวิทยาศาสตร์การแพทย์. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มะลิวัลย์ หาญกาง. (ม.ป.ป.) อุ้มบุญกับความเป็นมิดามารดาของเด็ก. ม.ป.ท.: สำนักงานเลขาธิกาวุฒิสภา.
รัตนะ ปัญญาภา. (2558). “ศักดิ์ศรี: มิติตะวันตก ไทย และพระพุทธศาสนา”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 11(3): 20-37.
----------. (2560). “การตั้งครรภ์แทนตามแนวคิดพุทธจริยศาสตร์ : อุ้มบุญหรืออุ้มบาป”. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 13(1): 89-109.
วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์. (2533). “การผสมเทียมกับกฎหมาย”. วารสารบทบัณฑิตย์. 44(2): 54-67
สนิท ตระกูลพรายงาม. (2536). “ปัญหากฎหมายที่เกิดจากการผสมเทียม”. วารสารตุลพาห. 52(2): ม.ป.น.
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ. (2558). เอกสารประกอบการพิจารณาญัตติ เรื่อง ขอเสนอญัตติตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษา มาตรการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยี ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ที่ตกค้างในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
สมภาร พรมทา. (2549). “คุณค่าของชีวิตมนุษย์ตามทัศนะพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในชีวจริยธรรม”. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 13(2): 14-23.
สุชาดา ทวีสิทธิ์. (2557). “ข้อถกเถียงของนักสตรีนิยมต่อกรณีการอุ้มบุญ ตอนที่ 1”. วารสารประชากรและการพัฒนา. 35(1): 4.
แสวง บุญเฉลิมวิภาส และ ดาราพร ถิระวัฒน์. (2548). “ประเด็นและข้อเสนอแนะทางกฎหมายและจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์”. วารสารตุลพาห. 52(2): ม.ป.น.
Blackwelder, B. (2002). Human Cloning Represents a Lack of Respect for Nature. In The Ethics of Human Cloning. (Woodward, J. editor). Detroit: Greenhaven Press.
Blockner, H.G. (1988). Ethics : An Introduction. 2nd ed. New York: Heaven.
Clemmit, Marcia. (2009). “Reproductive Ethics”. CQ Researcher. 19(9): 451-453.
Constantinidis, D. and Cook,R. (2011). Australian perspectives on surrogacy: the influence of cognitions, psychological and demographic characteristics. Victoria : Human Reproduction.
Dickens, B.M. (2012). “Ethical Issues Arising from the use of Assisted Reproductive Technologies”. Social Medicine. 6(3): 333-348.
Dierickx, Kris. (2014). Ethics of Reproductive Technologies. Leuven: Center for Biomedical Ethics and Law.
Hughes, James. (2007). Buddhist Bioethics. California: John Wiley & Sons, Ltd.
Kant, Immanuel. (1964). Groundwork of the Metaphysic of Morals. New York: Happer & Row.
Munson, Ronald. (2008). “Reproductive Control”. Intervention and Reflection: Basic Issues in Medical Ethics. 8th ed. Belmont, CA: Thomson Wadsworth. 364-451.
Rattana Panyapa. (2017). The Parenthood of Children Born under Assisted Reproductive Technology in the Buddhist Perspective. Proceedings of 13th International Conference on Humanities & Social Sciences 2017 (IC-HUSO 2017) 2nd-3rd November 2017, Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, Thailand. 1979-1888.
Stoll, Jane. (2013). Surrogacy Arrangement and Legal Parenthood. Uppsala: Uppsala University.
The Church of Scotland. (2014). Human Cloning : Ethical Issues. Edinburgh: Church and Society Council.
Vayena, Effy Rowe Patrick J. and Griffin, P. David. (2002). Current Practices and Controversies in Assisted Reproduction. Geneva: World Health Organization.
Whittaker, Amdrea. (2016). “From ‘Mungming’ to ‘Baby Gammy’: A Local History of Assisted Reproduction in Thailand”. Reproductive BioMedicine and Society Online. 2, 71-78.
Birnbacher, Dieter. (2005). “Human cloning and human dignity”. Ethics, Law and Moral Philosophy of Reproductive BioMedicine. 1(1): 50-55.

Downloads

Published

2018-07-14

How to Cite

ปัญญาภา ร. (2018). การวิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ตามหลักพุทธจริยศาสตร์; An Analysis of the Assisted Reproductive Technology in Buddhist Ethics. JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE, 7(1), 268–305. retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/110914

Issue

Section

บทความวิจัย