หลักทิศ 6 เพื่อการบริหารจัดการวัดไชยศรีตามแนวทางของพระครูบุญชยากร; 6 disa to the Management of Chaisri Temple, According to Phrakrubunchayakorn
Keywords:
หลักทิศ 6, การบริหารจัดการ, วัด, 6 disa, Principles in the management, TempleAbstract
การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์หลักทิศ 6 เพื่อการบริหารจัดการวัดไชยศรี ตามแนวทางของ พระครูบุญชยากร เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการศึกษาข้อมูลเชิงเอกสาร (documentary research) และการสัมภาษณ์เชิงลึก แบ่งออกเป็นสัมภาษณ์พระภิกษุ 3 รูป นักท่องเที่ยวที่มาวัดจำนวน 6 คน คนในชุมชน 6 คน รวมทั้งหมด 15 คน และศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnographic research) ผลการวิจัยพบว่า พระครูบุญชยากร วัดไชยศรีใช้หลักทิศ 6 เพื่อการบริหารจัดการวัด คือ ทักขิณทิสทิศเบื้องขวา ได้แก่ ครูอาจารย์ และอุปริมทิส ทิศเบื้องบน ได้แก่ พระสงฆ์สมณพราหมณ์ ปุรัตถิมทิส ทิศเบื้องหน้า ได้แก่ บิดา มารดา อุตตรทิส ทิศเบื้องซ้าย ได้แก่ มิตรสหาย เหฏฐิมทิส ทิศเบื้องล่าง ได้แก่ ลูกจ้างกับนายจ้าง
Abstract
This article aims to explain language used in naming the district in central region including Bangkok of Thailand. The data were grouped from district name in 21 provinces. There are totally 226 districts from 176 districts and 50 cities in Bangkok. The finding showed that there are 4 languages which are used to name: Thai, Bali-Sansakrit, Khmer, and dialects. It has 3 categories of naming: 1) only one language, 2) two-languages, and 3) three-languages. The Thai language is the most language used in first category, while the second and third categories were found that the cities were named by Thai mixed with Bali-Sansakrit languages. The different languages in place naming shown that there are people in different cultures who had settled their communities in central region that leads to the plural culture in this area as well as different languages. Furthermore, the place name can show the community identity and also described its people in each district.