อาชญนิยายในวารสาร วชิรญาณ และ วชิรญาณวิเศษ และนัยของการแสวงหาความรู้ของชนชั้นนำสยาม

ผู้แต่ง

  • สถาปนา เชิงจอหอ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหวิทยลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

อาชญนิยาย, วารสาร วชิรญาณ, วารสาร วชิรญาณวิเศษ, ระดับการเล่าเรื่อง, ชนชั้นนำ, ความเป็นสมัยใหม่แบบตะวันตก

บทคัดย่อ

งานเขียนในประเภทอาชญนิยายเข้ามาในประเทศสยามสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสิ่งพิมพ์ส่วนหนึ่งที่เผยแพร่งานประเภทนี้ คือวารสาร วชิรญาณ และ วชิรญาณวิเศษ วารสารทั้งสองชื่อนี้ทำหน้าที่บ่มเพาะชนชั้นนำรุ่นใหม่ของสยามที่ควรจะเป็นในยุคที่ความเป็นสมัยใหม่แบบตะวันตกทะลักเข้ามา อาชญนิยายที่ลงในวารสารทั้งสองชื่อได้กำหนดให้ชนชั้นนำเกิดสำนึกว่าตนเป็นผู้เหมาะสมที่สุดในการก้าวไปสู่ความเป็นสมัยใหม่แต่กลุ่มเดียว กล่าวคือ เป็นการยกระดับตนเองให้เทียบเท่าความสมัยใหม่แบบตะวันตกที่เชิดชูพร้อมกับที่กล่าวว่าความเป็นสมัยใหม่แบบตะวันตกไม่เหมาะสมกับราษฎร เพราะชนชั้นนำมองความด้อยศักดิ์เป็นเรื่องเดียวกันกับความสามารถในการเรียนรู้ ราษฎรจึงไม่คู่ควรกับความเป็นสมัยใหม่แบบตะวันตก เป็นเพียงแค่ผู้รับความเมตตาจากผู้เพียบพร้อมด้วยคุณวุฒิอย่างชนชั้นนำเท่านั้น

Author Biography

สถาปนา เชิงจอหอ, ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรามหาบัณฑิต
สาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

References

วารสารวชิรญาณและวชิรญาณวิเศษ

รู้ได้โดยละเอียด. (2435). วชิรญาณวิเศษ, 7 (แผ่นที่ 27-28, ร.ศ.111), 315-327; 325-335.

แหวนตะกั่ว. (2435). สืบรู้ได้โดยละเอียดต่อไป. วชิรญาณวิเศษ, 7 (แผ่นที่ 35-39, ร.ศ.111), 409-410; 423-424; 435-436; 449-450; 462.

สืบรู้ได้โดยละเอียด. (2435). วชิรญาณวิเศษ, 7 (แผ่นที่ 42-44, ร.ศ.111), 493-496; 506-510; 518-520.

สโมสรสรรพการ, พระยา. (2436 ก). สืบสรรพการ. วชิรญาณวิเศษ, 8 (แผ่นที่ 48-49, ร.ศ.112), 565-568; 581-583.

สโมสรสรรพการ, พระยา. (2436 ข). สืบสรรพการ. วชิรญาณวิเศษ, 8 (แผ่นที่ 50-51, ร.ศ.112), 594-598; 606-608.

สโมสรสรรพการ, พระยา. (2436 ค). สืบสรรพการ. วชิรญาณวิเศษ, 8 (แผ่นที่ 52-53, ร.ศ.112), 617-621; 630-631.

บัญญัติวรวาท, ขุน. (2438). เรื่องสืบสรรพการ. วชิรญาณ, 11 (เดือนสิงหาคม, ร.ศ.114), 1153-1174.

รัชนีแจ่มจรัส, พระองค์เจ้า. (2438). เรื่องสืบสรรพการ. วชิรญาณ, 24 (เดือนกันยายน, ร.ศ.114), 2409-2436.

อินทรมนตรี, หลวง. (2439). สืบรู้ได้โดยลเอียด. วชิรญาณ, 25 (เดือนตุลาคม, ร.ศ.115), 2551-2578.

นายซุ่นฮวด. (2440). เรื่องสืบสรรพการ. วชิรญาณ, 35 (เดือนสิงหาคม, ร.ศ.116), 3500-3536.

ภัณฑลักษณ์วิจารณ์, ขุน. (2440). สืบรู้โดยละเอียด. วชิรญาณ, 36 (เดือนกันยายน, ร.ศ.116), 3591-3525.

นายเพื่อน มหาดเล็ก. (2440). เริ่มจะเปนท่านสืบ. วชิญาณ, 39-40 (เดือนธันวาคม-เดือนมกราคม, ร.ศ.116), 244-272; 328-348.

เรื่องแม่สืบ. (2443). วชิรญาณ, 69 (เดือนมิถุนายน, ร.ศ.119), 619-635.

เอกสารตีพิมพ์

ธนพงษ์ จิตต์สง่า. (2552). “วชิรญาณ” กับการแสวงหาความรู้ของชนชั้นนำของสยาม พ.ศ.2427-2448. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาประวัติศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ธิบดี บัวคำศรี. (2563). “การเขียนประวัติศาสตร์หลังยุคจุลประวัติศาสตร์: บททดลองเล่าประวัติศาสตร์คนธรรมดาในแบบที่ต่างไป (หรือประวัติศาสตร์ของนายเนียมผู้ไม่มีประวัติศาสตร์).” ใน หนังสือประมวลบทความในการประชุมทางวิชาการเพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชน Wie es eigentlich gewesen ist. ทวีศักดิ์ เผือกสม (บ.ก.). โครงการวิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์. พิษณุโลก: หน่วยวิจัยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2555). ปากไก่และใบเรือ: รวมความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.

พนิดา หล่อเลิศรัตน์. (2548). พัฒนาการการแปลอาชญนิยายชุดเชอร์ล็อก โฮมส์ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงปัจจุบัน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาการแปลและการล่าม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สุรพงษ์ จันทร์เกษมพงษ์. (2547). “หนังสือวัดเกาะ”: การสืบทอดและปรับเปลี่ยนทัศนคติและค่านิยมในสังคมไทย พ.ศ. ๒๔๖๕-๒๔๗๕. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาประวัติศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

Benjamin, Walter. (1979). Reflection Essays, Aphorisms, Autobiographical Writing. San Diego: Harcourt Brace Jovanovich.

Bradford, Richard. (2015). CRIME FICTION: A Very Shot Introduction. Oxford: Oxford University Press.

Gilroy, Amanda and Verhoeven, Wil. (2001). The Romantic-Era Novel: A Special Issue: Introduction, NOVEL: A Forum on Fiction, 34(2), p.147-162.

Irwin, John T. (2006). Unless the Threat of Death is Behind Them: Hard-Boiled Fiction and Film Noir. Baltimore: The Johns Hopkins University Press.

Lim, Samson. (2012). Detective fiction, the police and secrecy in early twentieth century Siam. South East Asia Research, 20(1), 83-102.

Moretti, Franco. (2005). Signs Taken for Wonder: On the Sociology of Literature Forms. London: Verso.

Scaggs, John. (2005). Crime Fiction. London: Routledge.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-03-2021

How to Cite

เชิงจอหอ ส., & เผือกสม ท. (2021). อาชญนิยายในวารสาร วชิรญาณ และ วชิรญาณวิเศษ และนัยของการแสวงหาความรู้ของชนชั้นนำสยาม. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 16(2), 9–35. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/eJHUSO/article/view/246546