ภาวะผู้นำดิจิทัล และการจัดการความยั่งยืน (ESG) ที่มีอิทธิพลต่อผลดำเนินงานองค์การของอุตสาหกรรมอาหารในจังหวัดสมุทรสาคร

Main Article Content

จันจิราภรณ์ ปานยินดี
สมพร ปานยินดี
ประภัสรา คงสาธิตพร
โสภิดา ทะสังขา
พิเชษฐ์ มุสิกะโปดก

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำดิจิทัล การจัดการความยั่งยืน (ESG) และผลดำเนินงานองค์การของอุตสาหกรรมอาหารในจังหวัดสมุทรสาคร 2) ศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัล และการจัดการความยั่งยืน (ESG) ที่มีอิทธิพลต่อผลดำเนินงานองค์การของอุตสาหกรรมอาหารในจังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูล
โดยแบบสอบถามจากผู้บริหารองค์การในอุตสาหกรรมอาหารของจังหวัดสมุทรสาครจำนวน 181 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า


1) ภาวะผู้นำดิจิทัลมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.81) การจัดการความยั่งยืน ด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.83) การจัดการความยั่งยืน ด้านสังคมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.81) การจัดการความยั่งยืน ด้านบรรษัทภิบาลมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.91) และผลดำเนินงานองค์การมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x̅ = 3.97)


2) ภาวะผู้นำดิจิทัลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลดำเนินงานองค์การของอุตสาหกรรมอาหารในจังหวัดสมุทรสาครอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 การจัดการความยั่งยืน (ESG)
มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลดำเนินงานองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ของภาวะผู้นำดิจิทัล การจัดการความยั่งยืน (ESG) ด้านสังคม ด้านบรรษัทภิบาล และด้านสิ่งแวดล้อม เท่ากับ 0.580 0.565 0.542 และ 0.500 ตามลำดับ


3) ภาวะผู้นำดิจิทัลมีอิทธิพลทางบวกต่อผลดำเนินงานองค์การ (beta = 0.317) และการจัดการความยั่งยืน ด้านสังคมมีอิทธิพลทางบวกต่อผลดำเนินงานองค์การของอุตสาหกรรมอาหารในจังหวัดสมุทรสาคร (beta = 0.261)

Article Details

How to Cite
ปานยินดี จ. ., ปานยินดี ส. ., คงสาธิตพร ป. ., ทะสังขา โ. ., & มุสิกะโปดก พ. . (2025). ภาวะผู้นำดิจิทัล และการจัดการความยั่งยืน (ESG) ที่มีอิทธิพลต่อผลดำเนินงานองค์การของอุตสาหกรรมอาหารในจังหวัดสมุทรสาคร. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 7(1), 56–69. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/art/article/view/282211
บท
บทความวิจัย

References

กฤตชน วงศ์รัตน์ และธิดารัตน์ ปิ่นทอง. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจกับการดำเนินงานของโรงงานอุตสาหกรรมอาหารจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 10(1), 98-108. https://journal.pbru.ac.th/onlinearticles.php?cid=13

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Windows. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ขวัญยิหวา ไชยมาลา และอิสราภรณ์ ทนุผล. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการทําความรับผิดชอบต่อสังคมกับผลการดําเนินงานขององค์กร. วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี, 3(2), 1-9. https://www.chonburi.spu.ac.th/interdiscip/filepdf/A851530174562.pdf

จีรศักดิ์ คำสุรีย์ ดุจเดือน ฮามวงศ์ และอลิตา ยิ้มพยัคฆ์. (2566). รายงานวิจัยแนวทางการปรับตัวของอุตสาหกรรมอาหารไทยเพื่อรับมือระเบียบกฎเกณฑ์ด้านความยั่งยืน (ESG). สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. https://www.oie.go.th/assets/portals/1/files/study_report/Thai_food_ESG.pdf

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร. (2567, มิถุนายน). อุตสาหกรรมอาหารไทยไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 ปี 2567. สถาบันอาหาร. https://fic.nfi.or.th/foodindustry_quarterlySituation-detail.php?smid=2901

สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสาคร. (2565). รายงานความเคลื่อนไหวการลงทุนอุตสาหกรรมของจังหวัดสมุทรสาคร ประจำเดือนมีนาคม 2565. https://samutsakhon.industry.go.th /th/cms-of-119

สุรินทร์ เจนพิทยา. (2566, 22 ธันวาคม). ส่องจุดแข็ง สมุทรสาคร ทำไมขึ้นแท่น ฮับอาหารทะเลแปรรูปใหญ่สุดของไทย. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/business /1104939

Aaker, D. A., Kumar, V., & Day, G. S. (2007). Marketing research. John Wiley & Son.

Alareeni, B. A. & Hamdan, A. (2020). ESG impact on performance of us S&P 500-listed firms. Corporate Governance, 20(7), 1409-1428. https://doi.org/10.1108/CG-06-2020-0258

De Souza Barbosa, A., Da Silva, M. C. B. C., Da Silva, L. B., Morioka, S. N. & De Souza, V. F. (2023). Integration of environmental, social, and governance (ESG) criteria: their impacts on corporate sustainability performance. Humanities and Social Sciences Communications, 10, 410. https://doi.org/10.1057/s41599-023-01919-0

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate Data Analysis (6th ed.). Pearson Prentice Hall.

Khaw, T. Y., Teoh, A. P., Khalid, S. N. A. & Letchmunan, S. (2022). The impact of digital leadership on sustainable performance: A systematic literature review. Journal of Management Development, 41(9/10), 514-534. https://doi.org/10.1108/JMD-03-2022-0070

Kordab, M., Raudeliuniene, J. & Meidute-Kavaliauskiene, I. (2020). Mediating role of knowledge management in the relationship between organizational learning and sustainable organizational performance. Sustainability, 12(23), 10061. https://doi.org/10.3390/su122310061

Lee, C. F., Lee, J. C., & Lee, A. C. (2000). Statistics for business and financial economics. World Scientific.

Mollah, M. A., Choi, J. H., Hwang, S. J. & Shin, J. K. (2023). Exploring a pathway to sustainable organizational performance of south korea in the digital age: the effect of digital leadership on it capabilities and organizational learning. Sustainability, 15(10), 7875. https://doi.org/10.3390/su15107875

Munsamy, M., Dhanpat, N. & Barkhuizen, E. N. (2023). The development and validation of a digital leadership competency scale. Acta Commercii, 23(1), 1057. https://doi.org/10.4102/ac.v23i1.1057

Niu, S., Park, B. I. & Jung, J. S. (2022). The effects of digital leadership and ESG management on organizational innovation and sustainability. Sustainability, 14(23), 15639. https://doi.org/10.3390/su142315639

Park, S. R., & Jang, J. Y. (2021). The impact of ESG management on investment decision: Institutional investors’ perceptions of country-specific ESG criteria. International Journal of Financial Studies, 9(3), 48. https://doi.org/10.3390/ijfs9030048

Peng, B. (2022). Digital leadership: State governance in the era of digital technology. Cultures of Science, 5(4), 210-225. https://doi.org/10.1177/2096608321989835

Saddique, F., Ramzan, B., Sanyal, S., & Alamari, J. (2023). Role of digital leadership towards sustainable business performance: A parallel mediation model. Journal of Infrastructure, Policy and Development, 7(3), 2023. https://doi.org/ 10.24294/jipd.v7i3.2416

Sagbas, M., Oktaysoy, O., Topcuoglu, E., Kaygin, E. & Erdogan, F. A. (2023). The mediating role of innovative behavior on the effect of digital leadership on intrapreneurship intention and job performance. Behavioral Sciences, 13(10), 874. https://doi.org/10.3390/bs13100874

Shin, J., Mollah, M. A. & Choi, J. (2023). Sustainability and organizational performance in South Korea: The effect of digital leadership on digital culture and employees’ digital capabilities. Sustainability, 15(3), 2027. https://doi.org/10.3390/su15032027

Tulungen, E. E., Tewal, B. & Pandowo, M. (2022). The role of digital leadership mediated by digital skill in improving organizational performance. Journal of Accounting Research, Organization and Economics, 5(2), 156-171. https://doi.org/10.24815/jaroe.v5i2.26182

Winanti, M. B. (2023). How is the role of digital leadership and knowledge sharing on performance? An empirical study on SMEs in bandung west java. International Journal of Artificial Intelligence Research, 6(1.1). https://doi.org/10.29099/ijair.v6i1.296

Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd ed.). Harper and Row Publisher.

Yang, O. S. & Han, J. H. (2023). Assessing the effect of corporate ESG management on corporate financial & market performance and export. Sustainability, 15(3), 2316. https://doi.org/10.3390/su15032316

Zhan, S. (2023). ESG and corporate performance: A review. SHS Web of Conferences, 169, 01064. https://doi.org/10.1051/shsconf/202316901064

Zhou, S., Rashid, M. H. U., Mohd. Zobair, S. A., Sobhani, F. A. & Siddik, A. B. (2023). Does ESG impact firms’ sustainability performance? The mediating effect of innovation performance. Sustainability, 15(6), 5586. https://doi.org/10.3390/su15065586