การวางแผนการเงินส่วนบุคคลในแต่ละช่วงอายุด้วยเทคนิคการสร้างภาพ

Main Article Content

ประภาพร กิจดำรงธรรม
ศิริกุล ตุลาสมบัติ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลกระทบของช่วงอายุที่มีต่อพฤติกรรมการวางแผนการเงินส่วนบุคคล และ 2) ศึกษาลักษณะพฤติกรรมการวางแผนการเงินส่วนบุคคลในแต่ละช่วงอายุ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญจำนวน 500 ราย เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงปริมาณจำนวน 400 ราย การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม และใช้สถิติการถดถอยเชิงพหุคูณในการหาผลกระทบของช่วงอายุที่มีต่อพฤติกรรมการวางแผนการเงินส่วนบุคคล ส่วนกลุ่มตัวอย่างการวิจัย              เชิงคุณภาพจำนวน 100 ราย ใช้เทคนิคการสร้างภาพจากแบบทดสอบรูปการ์ตูนในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า แต่ละช่วงอายุส่งผลเชิงบวกต่อพฤติกรรมการวางแผนการเงินส่วนบุคคล โดยช่วงอายุวัยเริ่มทำงาน (อายุ 22-30 ปี) ให้ความสำคัญต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลในด้านการบริหารรายได้ ส่วนช่วงอายุสร้างครอบครัว (อายุ 31-40 ปี) ให้ความสำคัญต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลด้านการกำหนดเป้าหมายทางการเงิน และการออมเงิน สำหรับช่วงอายุการงานมั่นคง (อายุ 41-55 ปี)  ให้ความสำคัญต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลในภาพรวม และด้านการบริหารหนี้สิน และช่วงอายุเกษียณอายุ (อายุ 55 ปีขึ้นไป) ให้ความสำคัญต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคลในด้านการบริหารค่าใช้จ่าย ส่วนผลวิจัยเชิงคุณภาพยืนยันได้ว่าแต่ละช่วงอายุมีลักษณะพฤติกรรมการวางแผนการเงินส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน

Article Details

How to Cite
กิจดำรงธรรม ป. ., & ตุลาสมบัติ ศ. (2023). การวางแผนการเงินส่วนบุคคลในแต่ละช่วงอายุด้วยเทคนิคการสร้างภาพ. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 5(2), 288–303. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/art/article/view/269313
บท
บทความวิจัย

References

กษวรรณ ขจรเสรี. (2560). การวางแผนทางการเงินก่อนเกษียณอายุ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์. 1(1), 40-47.

กิตติพัฒน์ แสนทวีสุข. (2556). เงินทองต้องใส่ใจ. กรุงเทพมหานคร: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

ฉัตรฤดี ศิริลำดวน สุภัตราภรณ์ สายสมบูรณ์ และนรา หัตถสิน. (2563). คู่มือการวางแผนการเงิน. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ชาลิสา พุกกะรัตน์. (2562). การศึกษาความคิดเห็นและทัศนคติทางการเงินที่มีผลต่อการยอมรับความเสี่ยงส่วนบุคคลของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น. 7(1), 10-18.

ธนานพ ลิ่มสุวรรณโรจน์. (2562). การวางแผนการเงินของนักเรียนมัธยมปลายในกรุงเทพมหานคร. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, คณะสถิติประยุกต์.

นพรัตน ศรีศุภภัค และคณะ. (2560). กลยุทธ์การจัดสรรการลงทุนในสินทรัพย์ และกลยุทธ์การลงทุนแบบโมเมนตัมอุตสาหกรรม สำหรับการวางแผนการลงทุนเพื่อเกษียณอายุ. วารสารสุทธิปริทัศน์ 31(98), 1-16.

นิธิภักดิ์ กทิศาสตร์ และประภาพร กิจดำรงธรรม. (2562). ทัศนคติต่อการซื้อขายหุ้น โดยเทคนิคการสร้างภาพ กรณีศึกษาจากนักลงทุนรายย่อยในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 13(3), 223-230.

พัฒนี ทองพึง. (2555). การวางแผนทางการเงินส่วนบุคคล: กรณีศึกษาเฉพาะครูโรงเรียนสังกัด

กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พิราวรรณ จิระนันทราพร. (2555). ทัศนคติของประชาชนวัยทำงานในภาคเหนือของประเทศไทยต่อการวางแผนการเงินส่วนบุคคล (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

รสชงพร โกมลเสวิน. (2562). เอกสารการสอนชุดวิชา หลักการประชาสัมพันธ์และโฆษณา (พิมพ์ครั้งที่ 3). สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.

วราลักษณ์ ลิ่มกาญจนา และคณะ. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการออมเพื่อเตรียมความพร้อมทางการเงิน เพื่อวัยเกษียณ: กรณีศึกษาพนักงานธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ภาคใต้. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพ. 19 (2), 28-45.

วิไล เอื้อปิยฉัตร. (2556). ความรู้ทางการเงิน: ตัวกำหนดและผลกระทบที่มีต่อพฤติกรรมการออม. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา

ศิริกุล ตุลาสมบัติ. (2562). แนวทางการจัดการการ เงินโดยใช้ระบบสารสนเทศของกลุ่มผู้ผลิตเต้าเจี้ยว อินทรีย์. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 17(2), 25-36.

สมบูรณ์ สารพัด, ศิรินุช อินละคร และ ชไมพร ชินโชติ. (2564). การวางแผนการเงินส่วนบุคคลของประชากรวัยทำงานในจังหวัดชลบุรี. Journal of Roi Kaensarn Academi. 7(3), 218-234.

สุดารัตน์ ทิพาพงศ์. (2564). แนวทางการวางแผนทางการเงินเพื่อคุณภาพชีวิตวัยเกษียณอายุ. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 7(5), 353-365.

สุทธินันทน์ พรหมสุวรรณ. (2563) การศึกษาความแตกต่างของลักษณะส่วนบุคคล และอิทธิพลของการรับรู้ความเสี่ยงเกี่ยวกับการลงทุนและพฤติกรรมความเสี่ยงในการลงทุนที่มีต่อการวางแผนการลงทุนกองทุน Super Savings Fund (SSF) ของกลุ่มพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. 14(3), 180-193.

เอก ชุณหชัชราชัย. (2563). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลของกลุ่มคนที่เพิ่งเริ่มต้นการทำงานในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. 26(2), 13-23.

Altfest, L. (2007). Personal financial planning. New York: McGraw-Hill Higher Education.

Bateson, P. (2017). Behavior, development and evolution. Cambridge, UK: Open Book Publishers.

Cascio, W. F. (2015). Industrial–organizational psychology: Science and practice. International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences. 879–884.

Coile. (2015). Financial Factors Affecting Retirement Planning by Savings and Credit Cooperative Employees in Nakuru Town, Kenya. The International Journal of Business & Management, 5, 131–149.

Creswel, J. W. (2015). A concise Introduction to Mixed method Research. Los Angeles: Sage.

Donoghue, S. (2000). Projective techniques in consumer research. Journal of Family Ecology and Consumer Science. 28, 47-53.

Glenn, M. & Mary, W. (2013). Personal Financial Management Education: An Alternative Paradigm. Journal of Financial Counseling and Planning. 15(2), 79-88.

Hershey, D. A., Jacobs-Lawson, J. M., & Austin, J. T. (2013). Effective financial planning for retirement. Oxford, NY: Oxford University Press.

Hila, A. (2018). Early retirement and late retirement: Comparative analysis of 20

european countries. International Journal of Sociology. 48(3), 231-250.

Hinkle, D.E. (1998). Applied Statistics for the Behavioral Sciences. Boston: Houghton Mifflin.

Kapoor, J. R., Dlabay, L. R., & Hughes, R. J. (2009). Personal finance. (9th ed.). New York: McGraw-Hill Irwin.

Kline, R.B. (2016). Methodology in the Social Sciences. Principles and Practice of Structural Equation Modeling. 4 nd ed. [n.p.]: Guilford Press.

Levy, P. E. (2010). Industrial/organizational psychology: Understanding the workplace. (3rd ed.). New York: Worth Publishers.

Lunceford, G. M. (2017). What is retirement in the 21st Century? Cleveland, OH: Case Western Reserve University Press.

Marcinkiewicz, E. (2017). Factors affecting the development of voluntary pension schemes in CEE countries: A panel data analysis. Central European Economic Journal. 3(50), 26-40.

Miller, S. D., Duncan, B. L., Brown, J., Sparks, J. & Cloud, D. (2003). The outcome rating scale: A preliminary study of the reliability, validity, and feasibility of a brief visual analog measure. Journal of a Brief Therapy, 2(2), 91-100.

Murphy, D. S., & Yetmar, S. (2010). Personal financial planning attitudes: a preliminary study of graduate students. Management Research Review, 33(8), 811-817.

Petison, P. (2015). A comparison of three projective techniques: Lessons learned from a business research class. the International Journal of Applied Business and Economics Research. 13(6), 4519-4528.

Stienman, B. R. (2008). Projective techniques in consumer research, Northeastern Association of Business, Economics, and Technology Proceedings, 53-261.

Seidman, I. (2012). Interviewing as qualitative research: A guide for researchers in education and the social sciences (4th ed.). New York, NY: Teachers College Press.

Susan, M. & Djajadikerta, H. (2017). Understanding Financial Knowledge, Financial Attitude, and Financial Behavior of College Students in Indonesia. Advanced Science Letters. 23(9), 8762-8765.

Ng, Y. H., Tay, W. Y., Tan, N. L. & Lim Y. S. (2011). Influence of Investment Experience and Demographic Factors on Retirement Planning Intention. International Journal of Business and Management. 6(2), 196-203.

Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rded. New York: Harper and Row Publications.