การศึกษาแนวโน้มผลกระทบและความท้าทาย ต่อการท่องเที่ยวไทยในโลกดิจิทัลยุคปกติใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเปลี่ยนแปลงของโลกเข้าสู่ยุคดิจิทัล (Digital Transformation) มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ประโยชน์ในภาคส่วนต่างๆ อย่างกว้างขวางและแตกต่างไปจากวิถีการดำเนินชีวิตและการดำเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมแบบเดิม ภาคการท่องเที่ยวมีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ตามบริบทของสังคมบทความนี้จึงนำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์การใช้เทคโนโลยีไร้สัมผัส เทคโนโลยีบล็อกเชน เทคโนโลยีเสมือนจริงและปัญญาประดิษฐ์เกิดความท้าทายสำคัญของภาคการท่องเที่ยวไทยเพื่อไปสู่เป้าหมายที่จะมีความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล มีการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน มีความเข้มแข็งและสมดุลบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวผ่านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีให้เกิดความเชื่อมั่นสร้างประสบการณ์คุณค่าสูงให้กับนักท่องเที่ยวและให้ความรู้ความเข้าใจการยกระดับบุคลากรและผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเพื่อการบริการที่มีคุณภาพสามารถปรับตัวเข้ากับบริบทของการท่องเที่ยวยุคปกติใหม่ด้วยการเชื่อมโยงนโยบายโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวและบริการพร้อมกับการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กมลวรรณ วิชัยรัตน์. (2564). บทบาทของ AI ในการปฏิรูป “อุตสาหกรรมท่องเที่ยว”. สืบค้น 19 มิถุนายน 2565. จาก https://tonkit360.com/83084/ .
กรุงเทพธุรกิจ. (2563). “TikTok” ปลุกการท่องเที่ยวเกาหลีด้วยเอนเตอร์เทนเมนต์. สืบค้น 14 มิถุนายน 2565. จาก https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/907810/ .
กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม. (2564). COVID-19 ต่อภาคการท่องเที่ยวไทยผลกระทบและแนวทางการแก้ปัญหา. สืบค้น 15 มิถุนายน 2565.จาก https://www.mots.go.th/download/BannerLink/PBVol01Covid_DigitalEd.pdf/ .
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2566-2570). สืบค้น 19 มิถุนายน 2565. จาก https://anyflip.com/zzfck/kiel/ .
คณาธิป ไกยชน. (2565). นวัตกรรมเพื่อการท่องเที่ยววิถีใหม่. สืบค้น 15 มิถุนายน 2565. จากhttps://library.parliament.go.th/th/radioscript/rr2565-feb6/ .
จุฑาพร บุญคีรีรัฐ และณัฐภาณี จริตไทย. (2563).การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการท่องเที่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบนโลกดิจิทัล. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 12(2), 285–301.
ชนินทร์ พุ่มบัณฑิต. (2564). From High-Touch to High-Tech: นวัตกรรมขับเคลื่อนอุตสาหกรรมโรงแรมหลังวิกฤตการณ์โควิด-19. BU ACADEMIC REVIEW. 20(2), 173-184.
ชลัมพ์ ศุภวาที. (2562). 3 เทรนด์อนาคตของธุรกิจโรงแรมในไทยพบเริ่มใช้ AI หา Personalization ลูกค้า.สืบค้น 15 มิถุนายน 2565. จาก https://www.shorturl.at/bgO13/ .
ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. (2565). การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวและโรงแรมอย่างยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฐิติยา เนตรวงษ์ และปริศนา มั่นเภา. (2565). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลรองรับท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสําหรับผู้สูงอายุวิถีปกติใหม่จากสถานการณ์โควิด-19. วารสารนวัตกรรมวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน, 3(1), 104–117.
ดารณี อาจหาญ. (2552). นวัตกรรมการใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง เพื่อการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ กรณีศึกษาวัดไชยวัฒนาราม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธารทิพย์ รัตนวิจารณ์ และชนิชา พงษ์สนิท. (2559). “โลกเสมือนจริง” ที่กลายเป็น “โลกสมจริง” ในภาคอุตสาหกรรมการผลิต. วารสารการสื่อสารและการจัดการนิด้า. 2(3), 97–114.
ธเนศวร์ เพชรสุวรรณ. (2563). “BEST” คำนิยามพฤติกรรมนักท่องเที่ยวหลังวิกฤตโควิด-19. สืบค้น 10 สิงหาคม 2565,จากhttp://www.shorturl.at/hiLV8/ .
นาวา มาสวนจิก, ปิยะวรรณ ยางคา, พรวดี รักษาศรี, กชนิภา วานิชกิตติกูล และอัจฉรพร เฉลิมชิต.
(2562). การจัดการนวัตกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างยั่งยืนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ใน รายงานการวิจัย. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
บริสุทธิ์ แสนคำ. (2022).พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยหลังสถานการณ์โควิด 19. วารสารศิลปศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการ. 4(1), 160–167.
พีรดล สามะศิริ. (2563). เปลี่ยนรูปแบบการท่องเที่ยวด้วยปัญญาประดิษฐ์. สืบค้น 15 มิถุนายน 2565. จาก https://rb.gy/ufzjty/ .
ภัคชุดา พูนสุวรรณ. (2565). นวัตกรรมกับการพัฒนาการท่องเที่ยวในยุค NEW NORMAL. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ.5 (1), 25-36
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด. (2564). อนาคตฐาน “ท่องเที่ยวไทย” หลังโควิด. สืบค้น 19 มิถุนายน 2565. จาก https://www.bangkokbiznews.com/business/926948/ .
รัฐพล วงศาโรจน์. (2564). นวัตกรรมท่องเที่ยวกับโอกาสการพลิกฟื้นหลังวิกฤตโควิด. สืบค้น 10 สิงหาคม 2565,จากhttps://www.nia.or.th/traveltechaftercovid/ .
รัตนาวลี ไม้สัก และ จิราวรรณ แก้วจินดา. (2562). แอปพลิเคชันแชทบอทเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม. ใน รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
ศุศราภรณ์ แต่งตั้งลำ. (2564). สื่อออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกการท่องเที่ยวเชิงอาหารในประเทศไทย. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 5(1), 37–56.
เศรษฐพุฒิ สุทธินาทนฤพุฒ. (2564, 18 พฤศจิกายน). Looking Beyond Covid-19 : โจทย์ที่ท้าทายของเศรษฐกิจไทยหลังยุคโควิด 19”. [ปาฐกถาพิเศษ]. จาก https://Shorturl.at/kouw0/ .
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2560). INNOVATIONMaking Creativity into Value Reality. สืบค้น 9 สิงหาคม 2565. จาก http://www.shorturl.at/DIN28/ .
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 “พลิกโฉมประเทศไทยสู่เศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน” (Transformation to Hi-Value and Sustainable Thailand). สืบค้น 22 มิถุนายน 2565. จาก https://www.ldd.go.th/PDF/DevelopmentPlanNo.13.pdf/ .
อนพัทย์ หนองคู. (2563). พฤติกรรมและปัจจัยด้านสื่อดิจิทัลทางการตลาดที่มีผลต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนักท่องเที่ยวในเขตพื้นที่สวนดุสิต. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.12(2), 1-15.
อรุณี อินทรไพโรจน์. (2560). ธุรกิจท่องเที่ยวออนไลน์ (e-Tourism). สืบค้น 19 มิถุนายน 2565. จาก http://www.blog.rmutt.ac.th/?p=76/ .
Airport Technology. (2021). Eindhoven Airport completes trial of AI-enabled baggage check-in technology. Retrieved June 15, 2022. from https://rb.gy/a6edhf/ .
Amazon. (2022). Alexa for Hospitality. Retrieved June 15, 2022. Fromhttps://developer.amazon.com/en-US/alexa/alexa-for-hospitality/ .
Bitner, M. J., Brown, S. W., & Meuter, M. L. (2000). Technology Infusion in Service Encounters. Journal of the Academy of Marketing Science, 28(1), 138–149.
DataReportal. (2022). Digital 2022: Thailand. Retrieved June 14, 2022. from https://Datareportal.com/reports/digital-2022-thailand/ .
Emirates. (2022). การเดินทางแบบไร้สัมผัส. สืบค้น 14 มิถุนายน 2565. จากhttps://emirates.com/th/thai/experience/contactless-journey/ .
Hao, F. (2021). Acceptance of contactless technology in the hospitality industry: extending the unified theory of acceptance and use of technology 2. Asia Pacific Journal of Tourism Research, 26(12), 1386–1401.
Herédia, C. V., & Rodrigues, H. (2021). Hosting in turbulent times: Hoteliers’ perceptions and strategies to recover from the Covid-19 pandemic. International Journal of Hospitality Management, 94, 1-12.
Kittiphop Phuphusit. (2020). Blockchain กับการท่องเที่ยวของแดนโสมใต้. สืบค้น 19 มิถุนายน 2565. จาก https://cryptosiam.com/medical-tourism-south-korea/ .
Louvre Museum. (2022). Online tours. Retrieved June 15, 2022. from https://louvre.fr/en/online-tours/ .
Muñoz-Leiva, F., Hernández-Méndez, J., & Gómez-Carmona, D. (2019). Measuring advertising effectiveness in Travel 2.0 websites through eye-tracking technology. Physiology & Behavior, 200, 83–95.
Perez, S. (2018). Amazon launches an Alexa system for hotels. Retrieved June 15, 2022. from https://rb.gy/x7vyly/ .
Shin, H. & Kang, J. (2020). Reducing perceived health risk to attract hotel customers in the COVID-19 pandemic era: Focused on technology innovation for social distancing and cleanliness. International Journal of Hospitality Management, 91, 1-9.
Thailandplus. (2022). กรมการท่องเที่ยว ประกาศผลการแข่งขัน “TikTok Challenge” ยิ้มรับความสำเร็จผู้เข้าร่วมกว่า 100 ราย. สืบค้น 14 มิถุนายน 2565.จาก https://www.thailandplus.tv/archives/501103/ .
Workpoint Today. (2022). EU รับรอง Thailand Digital Health Pass คนไทยเดินทางไปเข้าประเทศยุโรปได้แล้ว. สืบค้น 15 มิถุนายน 2565. จาก https://shorturl.at/ejswX/ .