แนวทางการจัดกิจกรรมศึกษาบันเทิงที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตลอดชีวิต

Main Article Content

สุภลักษณ์ วงศ์หน่อ

บทคัดย่อ

      ในศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงเวลาที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การหลั่งไหลทางการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีทำให้เกิดแหล่งการเรียนรู้ที่ทันสมัยมากมาย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเริ่มต้นเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ มีโอกาสพัฒนาศักยภาพด้วยตนเองและตามความสนใจ โดยไม่มีข้อจํากัดทั้งด้านวัย ด้านเวลา และสถานที่ โดยมีแนวทางที่เหมาะสมกับผู้เรียนในการแสวงหาความรู้จากนวัตกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้ที่ทันสมัยและยืดหยุ่น ดังกลยุทธ์ศึกษาบันเทิงที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยความสนุกสนาน โดยมีกระบวนการเพลิน เด็กเป็นศูนย์กลาง และครูเป็นผู้สนับสนุนในการผลักดันให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต บทความนี้มุ่งนำเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมศึกษาบันเทิงที่เหมาะสมสำหรับวัยเรียน คือ 6-18 ปี เกิดกระบวนการเรียนแบบเพลิน เพื่อสร้างประสบการณ์ให้เด็กได้หลงใหลในการเรียนรู้ ผ่านการสร้างผลงานด้วยตนเอง
เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข

Article Details

How to Cite
วงศ์หน่อ ส. (2023). แนวทางการจัดกิจกรรมศึกษาบันเทิงที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กตลอดชีวิต. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 13(2), 113–121. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/ajpbru/article/view/264636
บท
บทความวิชาการ

References

thevisualthaipbs. เจาะปัญหาการศึกษาไทยกับชีวิตที่หลุดออกนอกระบบ. [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ19 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://thevisual.thaipbs.or.th/drop-out-students/main/

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579). [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.lampang.go.th/public60/EducationPlan2.pdf

theactive. “การศึกษาไทย” อย่างไรต่อ?. [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://theactive.net/

data/tsd-forum-education/

สุพัตรา นุตรักษ์ วรรณไพร แย้มมา ประนอม พูลพัฒน์ สาริศา อัครกุลพิชา บุญยอด มาคล้าย ภาวิณี ทองกลับ, และ คณะ.การดูแลภายใต้การเชื่อมความสัมพันธ์ต่างรุ่น: ทางเลือกใหม่เพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 2564; 1:199-206.

White, R. That's Edutainment. [Internet]. 2003. [Cited 29 August 2013]. Available from: http://www.whitehutchinson.com/

leisure/articles/edutainments.html

White, R. Edutainment: The Next Big Thing. [Internet]. 2004. [Cited 7 July 2014]. Available from: https://www.whitehutchinson.com/

news/downloads/IAAPAEdutainmentSeminar.pdf

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. เพลิน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัท พี. เพรส; 2541.

Nemec, J. and Trna, J. Edutainment or Entertainment: Education Possibilities of Didactic Games in Science Education. International Council for Children’s play, Brno Conference; Czech Republic. September. 2007.

Michael, B. Edutatining: Creating Interest in the Classroom: Eight Simple Steps. [Internet]. 2007. [Cited 18 November 2013]. Available from: http://importantnews.org/edutainig.html.

Rogers, E. M. & Shefner. C.L. The history of entertainment – education strategies. In the Centers of Disease Control and Prevention Conference on Using Entertainment – Education to Reach a Generation at Rick; Atlanta. September; 1994.

Edgens, J., Nickel, P. & Morey, Edutainment: Critical Inquiry, Reading, Writing, and Speaking in Large Environment and Natural Resource Survey Courses. [Internet]. 2000. [Cited 19 November 2013]. Available from: http://www.cnr.usu.edu/

quinney/ files/uploads/UENR3.pdf

Erickson, E. Childhood and society. New York: W.W.Norton; 1950.

Freud, S. An outline of psychoanalysis. New York: Norton; 1965.

Piaget, J. Pieget’s theory. In P.Mussen (ed). Handbook of Child Psychology. New York: Wiley; 1983.

Mitchel Resnick. Lifelong Kindergarten: อนุบาลตลอดชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ bookscape; 2541.

Gardner, H. & Winner, E. U-Shaped Behavioral Growth. First intimations of artistry. In S. Strauss (ed.), New York: Academic Press; 1982.

Singer, D.G. & Ravenson, T.A. A Piaget Primer: How a Child Thinks. New York: Plume; 1978.

Souham's Blog. A. I. Unesco’S Five Pillars of Education. [Internet]. 2012. [Cited 29 September 2022]. Available from: https://souham.wordpress.com/a-a-prologue/

สุมาลี สังข์ศรี. การจัดการศึกษานอกระบบโดยวิธีการศึกษาทางไกลเพื่อส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต: เอกสารในโครงการส่งเสริมการแต่งตำราของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2545.

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. คัมภีร์กศน. หน่วยศึกษานิเทศก์สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วน จำกัด เอ็น.เอ.รัตนะเทรดดิ้ง; 2556.

อาชัญญา รัตนอุบล. การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต Lifelong Education and Lifelong Learning: บทความวิชาการคำจำกัดความ แนวคิด และลักษณะการศึกษาตลอดชีวิต Definitions Concepts, Characteristics of Lifelong Education. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2557.

วรรัตน์ ปทุมเจริญวัฒนา. การศึกษาตามอัธยาศัย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2561.

อุดม เชียร์กีวงศ์. การส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย: กรณีศึกษาที่ไม่จำกัดวัยและสถานที่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: แสดงดาว; 2551.