การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักศึกษาครู

Main Article Content

วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล
สุธิดา ทองคำ
บุษราคัม สิงห์ชัย
เวธกา เช้าเจริญ

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักศึกษาครู และ 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักศึกษาครู กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาครูสาขาวิชาเคมีชั้นปีที่ 4 จำนวน 21 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ได้มาจาก
การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้และแบบประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการจัดการเรียนรู้มี 7 ขั้นตอน ได้แก่ กำหนดเป้าหมายร่วมกัน ให้ความรู้พื้นฐาน คิดหัวข้อโครงงาน วางแผนทำโครงร่าง ทำโครงงาน รายงานและนำเสนอผลงาน ประเมินผล และ 2) ความสามารถ
ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักศึกษาครูอยู่ในระดับดี

Article Details

How to Cite
ประภาสะโนบล ว., ทองคำ ส. ., สิงห์ชัย บ. ., & เช้าเจริญ เ. . (2024). การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักศึกษาครู. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 14(1), 1–7. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/ajpbru/article/view/263936
บท
บทความวิจัย

References

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. การพัฒนาทักษะสร้างสรรค์นวัตกรรม. [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ; 2562 [เข้าถึงเมื่อ 20 กันยายน 2562]. เข้าถึงได้จาก http://www.curriculumandlearning.com /upload/Books.pdf

จารุกิตติ์ ชินนะราช. การพัฒนาความสามารถในการสร้างนวัตกรรมด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นร่วมกับแนวคิดสะเต็มศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 [ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2563.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. เติบโตเต็มตามศักยภาพสู่ศตวรรษที่ 21 ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2557.

กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2559. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา.

พิพัฒน์พงศ์ จิตต์เทพ, มนัสนันท์ น้ำสมบูรณ์, เพ็ญพะนอ พ่วงแพและวิสูตร โพธิ์เงิน. การพัฒนาความสามารถการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางสังคมในสาระภูมิศาสตร์ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้การคิดเชิงออกแบบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. Journal of Roi Kaensarn Academi 2564; 6(10): 78-93.

ภัทรา อุ่นทินกรและมาเรียม นิลพันธุ์. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดสะเต็มศึกษาเพื่อเสริมสร้างความสามารถ

ในการสร้างนวัตกรรมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2564; 19(1): 206-219.

สัญสิริ อินอุ่นโชติ, มรกต แซ่ว้าน, สไบทิพย์ โกละกะ, ปาริวรรณ บุตรศาสตร์และสุทธิพร แท่นทอง. การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงานร่วมกับแนวคิดการเรียนรู้แบบใช้กรณีศึกษาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรม. วารสารวิชาการ ครุศาสตร์สวนสุนันทา 2564; 5(1): 74-85.

พุทธชาติ ศรีประไพและชมนาด เชื้อสุวรรณทวี. การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานที่ส่งเสริมความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียน. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ 2565; 9(7): 30-43.

รุจโรจน ์ แก้วอุไรและศรัณย ู หมื่นเดช. 8 ขั้นตอนการเรียนแบบโครงงานร่วมกับโซเชียลมีเดียเพื่อส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21. วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดีย คอนเวอร์เจนซ์ มหาวิทยาลยัทักษิณ 2557; 1(1): 1-17.

สุทธิยา รัตนคุณศาสน์ และพรสวรรค์ วงค์ตาธรรม. การออกแบบและพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดสร้างสรรค์. การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 12; 7-8 กรกฎาคม 2559; โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ จังหวัดขอนแก่น: 2559. 404-409.

ณัฏฐา ผิวมาและวิภาวี วลีพิทักษ์เดช. การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน. วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา 2560; 7(13):16-26.

ธนัญญา กุลจลาและนิธิดา อดิภัทรนนัท์. การใช้การเรียนแบบโครงงานเป็นฐานเพื่อเพิ่มพูนทักษะการอ่าน การเขียนภาษาอังกฤษและทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. Veridian E-Journal Silpakorn University 2561; 11(3): 1544-1556.

Jalinus N, Nabawi R A, and Mardin A. The Seven Steps of Project Based Learning Model to Enhance Productive Competences of Vocational Students. Advances in Social Science, Education and Humanities Research 2019; 102: 251-256.

Tadifa FG. Project-Based Learning in College Chemistry. Proceedings of ISER 12th International Conference; 22nd November 2015, Pattaya, Thailand: 2015. 11-16.

อัศวนนทปกรณ์ ธเนศวีรภัทร พรพรหม ชัยฉัตรพรสุข ฉันทนา เชาว์ปรีชาและสายสวาท สุวณัณกีฏะ. การสร้างสรรค์นวัตกรรม

การสอนวิทยาศาสตร์ผ่านการเรียนรู้ด้วยโครงงานอย่างมีมาตรฐานขั้นสูง. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 2562;10(1): 123-136

ธรัช อารีราษฎร์ และ วรปภา อารีราษฎร์.รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรมสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตามกรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 สู่การจัดการศึกษา 4.0. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2562;5(1): 52-64.

สรกฤช มณีวรรณ. การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับเทคนิคซินเน็คติกส์ผ่านคลาวด์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม. วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา 2561; 8(15): 63-76

ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ พิมพ์ครั้งที่ 21.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2562.

เทพกัญญา พรหมขัติแก้ว. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน (Project-based learning : PBL). สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2557; 42(188): 14-17