การบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมนักเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมนักเรียนในสถานศึกษา ถือได้ว่าเป็นการบริหารงานที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงการส่งเสริมและมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีศักยภาพ รวมทั้งทักษะในด้านต่าง ๆ ที่จำเป็น เพื่อให้พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยเฉพาะทักษะที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 ซึ่งต้องการให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ทักษะชีวิตและการประกอบอาชีพ รวมทั้งเรื่องการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัยของตนเอง อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการทำงานโดยการใช้กระบวนการกลุ่มในการทำประโยชน์เพื่อชุมชน สังคมและประเทศชาติ ตลอดจนการทำนุบำรุงขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพ ช่วยฝึกอุปนิสัยของผู้เรียนให้เหมาะสมกับอุดมการณ์ประชาธิปไตย มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ทั้งนี้ผู้เรียนสามารถนำประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมและเกิดประโยชน์ต่อการศึกษาเล่าเรียน รวมถึงการประกอบอาชีพการงานในปัจจุบันและอนาคตต่อไปได้อีกด้วย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความนี้ยังไม่เคยลงตีพิมพ์ในวารสารใดมาก่อน และไม่อยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
บทความที่ลงพิมพ์เป็นข้อคิดเห็น/แนวคิด/ทัศนคติของผู้เขียนเท่านั้น หากเกิดผลทางกฎหมายใดๆที่อาจ
เกิดขึ้นจากบทความนี้ ผู้เขียนจะเป็นผู้รับผิดชอบ และบทความนี้เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารเท่านั้น
References
สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ. แนวปฏิบัติในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร. [อินเทอร์เน็ต]; 2548 [เข้าถึงเมื่อ 7 ธันวาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก http://pimporn.nsdv.go.th/pr/ curriculum/activity.pdf.
ชลชญา เต็มนอง. ผลของการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามทฤษฎีพหุปัญญาด้านการมองเห็นและมิติสัมพันธ์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนห้วยไผ่ จังหวัดราชบุรี [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี; 2557
สุณัฐญา เหลี่ยมเพ็ง. การพัฒนากิจกรรมเสริมหลักสูตรการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2546
อุไรวรรณ หาญวงศ์. การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนประถมศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น 2557;2:55-66.
สายพิณ พุทธิสาร. การศึกษาการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรดนตรีไทยในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนที่ได้รับรางวัลประกวดวงดนตรีไทยถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี [วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2543
พิมพ์ชนก ค้ำชู. การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแนวทางคาร์ลออร์ฟ เพื่อพัฒนาทักษะรายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี; 2555
กุสินา รอดทอง. การบริหารงานกิจการนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี [วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต]. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี; 2561
ณัฐนนท์ ค้าขาย. การบริหารจัดการงานกิจกรรมนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนเทพบดินทร์วิทยาเชียงใหม่ [วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่; 2562
มาลี เกศธนาธร. การบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักธรรมาธิบาลเชิงพุทธของบุคลากร ทางการศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 [วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย; 2556
วราภรณ์ บุญดอก. สภาพและปัญหาการบริหารกิจการนักเรียนโรงเรียนมัธยมวัดหนองจอกสังกดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต]. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2559
พัทยาภรณ์ เปรมภิวงค์. การปฏิบัติงานกิจการนักเรียนโรงเรียนแม่สะเรียงบริ พัตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน [วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต]. เชียงใหม่:มหาวิทยาลัย เชียงใหม่; 2553
กฤษณ์ จันทะวงค์. แนวปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาการบริหารกิจการนักเรียนโรงเรียนวชิรวิทย์ฝ่ายมัธยม จังหวัดเชียงใหม่ [วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต]. เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2553
พิมประภา หมื่นรัญญ์. สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนโดยเน้นคุณธรรมนำความรู้โรงเรียนประถมศึกษา เครือข่ายสมุย 1 อำเภอเกาะสมุย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 1 [ภาคนิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต]. สุราษฎร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี; 2557
พุดกรอง พิพัฒรัตนะ. (2551). การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนเพื่อการพัฒนาศักยภาพตนเองของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน วิธีเรียนแบบทางไกล [วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2551
ธนพร สืบกระพันธ์. (2563). การพัฒนาชุดกิจกรรมการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสต์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เด็กปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลระนอง [วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต]. สุราษฏร์ธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี; 2563
สวิตตา ทองเยื้อน. การศึกษาความสามารถทางภาษาของเด็กปฐมวัยที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน โดยใช้วิธีการสอนแบบสองภาษาร่วมกับการจัดประสบการณ์ตามแนวนีโอฮิวแมนนิส [วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2554
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สพฐ. แนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. [อินเทอร์เน็ต]; 2559 [เข้าถึงเมื่อ 14 มกราคม 2565]. เข้าถึงได้จาก https:// webs.rmutl.ac.th/assets/upload/files/2016/09/20160908101755_51855.pdf