การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร -

Main Article Content

เปรม เดชแก้ว
ญาณิศา บุญจิตร์
บรรจง เจริญสุข

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ฯ 2)
พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ฯ 3) ตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ฯ
การวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Methods) เก็บข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ในจังหวัดชุมพร จำนวน 5 โรงเรียน โดยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ฯ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) รูปแบบประกอบด้วย (1) หลักการ (2) วัตถุประสงค์ (3) ระบบงานและกลไก และ (4) เงื่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ และ 3) รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ฯ มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก

Article Details

How to Cite
เดชแก้ว เ., บุญจิตร์ ญ., & เจริญสุข บ. (2023). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร: -. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 12(3), 72–80. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/ajpbru/article/view/257779
บท
บทความวิจัย

References

มูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์. พอเพียงกับการจัดการศึกษา. มูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์; 2556.

ปรียานุช พิบูลสราวุธ. คลังหลวงกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ:โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง; 2551.

มูลนิธิยุวสถิรคุณ. คู่มือการคัดเลือกรางวัลสูงสุดระดับชาติสถานศึกษาพอเพียงที่มีผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ปี 2561.

ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ; 2561.

สุจินต์ ภิญญานิล. คู่มือการรนิเทศติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาสู่ความยั่งยืนกิจกรรมการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา. กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.กระทรวงศึกษาธิการ; 2564.

ณัฐพร เอี่ยมหรุ่น. การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตการทำงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8. วารสารการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร 2562; 2:767-779.

เทวฤทธิ์ พลเยี่ยม. รูปแบบการบริหารจัดการการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาระดัประถมศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 3 [ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฏีบัณฑิต].

กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ; 2559.

พันธ์ศักดิ์ แสนพรมมา. รูปแบบการบริหารจัดการของศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนในจังหวัดพะเยา.วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ 2562; 2:168-177

จรรยา ทีปาลา. แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอำเภอบ้านไร่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานีเขต 2. วารสารวิทยวิชการ 2564;4:45-59.

วรนุช ปานคุ้ม.การจัดทำแผนกลยุทธ์การพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐพอเพียงด้านการศึกษาของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 13 จังหวัดอุตรดิตถ์[วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต]. เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2560.

อัจฉริยะ วงษ์คำซาว. ยุทธศาสตร์การดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ; 2562.

กัณยกร อัครรัตนากร. การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.

วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา 2561;3:142-156.

พัฒนา พรหมณี. แนวคิดการสร้างและพัฒนารูปแบบเพื่อใช้ในการดำเนินงานด้านการสาธารณสุขสำหรับนักสาธารณสุข. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร; 2560.

สิริรัชต์ แก้วงาม. การพัฒนารูปแบบการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านฉู่ฉี่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.กระทรวงศึกษาธิการ; 2562.

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดร้อยเอ็ด.การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-Net)ของจังหวัดร้อยเอ็ด. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงศึกษาธิการ; 2563.

สายเพ็ญ บุญทองแก้ว. การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 2. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ 2563;9:96-110.

ยศสราวดี กรึงไกร.การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น[ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต]. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย; 2560.

สุริยา จันทิมา. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์สู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน(ASCC) สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาเขต19. วารสารครุพิบูล 2561;1:60-76