การประเมินเปรียบเทียบปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ภาคการขนส่งสินค้าทางบกก่อน และภายใต้ สถานการณ์โควิด19 กับแนวคิดโลจิสติกส์สีเขียว กรณีศึกษาเส้นทางหลวงของกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • Dussadee Mookda Faculty Logistics and Transportation Management, Panyapiwat Institute of Management

DOI:

https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2025.279500

คำสำคัญ:

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ , ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ , โลจิสติกส์สีเขียว , โควิด19 , ความยั่งยืน

บทคัดย่อ

การศึกษาการวิจัยเรื่องการประเมินเปรียบเทียบปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ภาคการขนส่งสินค้าทางบกก่อนและภายใต้สถานการณ์โควิด 19 กรณีศึกษาเส้นทางหลวง ของกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการเปรียบเทียบปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ภาคการขนส่งสินค้าทางบกระหว่างสถานการณ์ก่อนและภายใต้สภาวะการณ์แพร่ระบาดโควิด 19 และเพื่อเสนอแนวทางการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพด้านการขนส่งสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตามแนวคิดกรีนโลจิสติกส์ ในการวิเคราะห์การเปรียบเทียบปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ภาคการขนส่งสินค้าทางบกระหว่างก่อนและภายใต้สภาวะการณ์แพร่ระบาดโควิด 19 โดยสถิติที่ใช้ในการทดสอบคือ T-Test ระดับความเชื่อมั่นคือ 95% ระดับนัยสำคัญคือ 0.05 รูปแบบการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ลักษณะแบบ Cradle – to - Gate หรือ Business – to - Business (B2B)  ผลการวิจัยพบว่าภาคการขนส่งสินค้าทางบกก่อนและภายใต้สถานการณ์โควิด 19 กรณีศึกษาเส้นทางหลวง ของกรุงเทพมหานคร มีการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดซ์ออกไซค์ในปริมาณเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน อย่างมีระดับนัยสำคัญ แสดงให้เห็นว่าก่อนและภายใต้สภาวการณ์แพร่ระบาดโควิด 19 ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อระบบการขนส่งสินค้าทางบกของกลุ่มรถบรรทุก กรณีศึกษาเส้นทางหลวง ของกรุงเทพมหานคร โดยแนวทางการปรับปรุงเพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกนั้นในด้านการเปลี่ยนเป็นยานพาหนะพลังงานสะอาดยานยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicle | BEV) อีกทางเลือกหนึ่งทีน่าสนใจในปัจจุบันนี้

References

กรมการขนส่งทางบก. (2563). รายงานสถิติการขนส่งประจำปี. สืบค้นจาก https://www.web.dlt.go.th/statistics/

กรมทางหลวง. (2556). ประเภทรถที่ใช้ในการสำรวจปริมาณการจราจร. สืบค้นจาก https://www.tims.doh.go.th/sites/default/files/ประเภทรถที่ใช้ในการสำรวจปริมาณการจราจร.pdf.

กรุงเทพมหานคร และ คณะผู้เชี่ยวชาญ JICA. (2563). แผนแม่บทกรุงเทพมหานครว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2556-2566. สืบค้นจาก https://webportal.bangkok.go.th/environmental/page/sub/14078/

ธนาคารทหารไทย. (2565). โอกาสต่อยอดของธุรกิจ SME เมื่อเข้าสู่ยุครถยนต์พลังงานไฟฟ้า. ธนาคารทหารไทย. สืบค้นจาก https://www.ttbbank.com/th/fin-biz/industry-expertise/other-industries/industry-evcar22

ธนันธร มหาพรประจักษ์. (2563). ปรับธุรกิจของคุณให้อยู่รอดในยุคปกติใหม่. ธนาคารแห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article19Oct2020.aspx

นนทวรรณ พิทักษ์วินัย, และ ศุภิสรา จินดามณี. (2560). การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและความต้องการใช้พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลตลอดวัฏจักร ชีวิตของผลิตภัณฑ์ไอศกรีมกะทิ: กรณีศึกษาโรงงานผลิตไอศกรีม จังหวัดแพร่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

นุสรา เงินเจริญ. (2565). สอท. เผยยอดยานยนต์ไฟฟ้าในเดือนธันวาคม 2565 เติบโตเพิ่มขึ้น. Autoinfo. สืบค้นจาก https://www.autoinfo.co.th/online/438773/

สมชาย โอตป์ฉิมพลี. (2566). ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการให้บริการรถขนส่งมวลชน: กรณี ศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. เอกสารประกอบการประชุมวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28, เรื่องความท้าทายด้านวิศวกรรมโยธาหลังการระบาดใหญ่, ภูเก็ต, ประเทศไทย. สืบค้นจาก https://conference.thaince.org/index.php/ncce28/article/view/1978/1420

สำนักอำนวยความปลอดภัยกรมทางหลวง. (2564). ปริมาณจราจรบนทางหลวงสายหลักทั่วประเทศ กรมทางหลวง. สืบค้นจาก http://bhs.doh.go.th/download/traffic

สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ, (2564). SDGs คืออะไร มารู้จัก 5 เป้าหมายแรกจากมิติสังคม. สืบค้นจาก https://www.nxpo.or.th/th/8081/

สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติและสังคมแห่งชาติ. (2564). ประเทศไทยและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. สืบค้นจาก https://sdgs.nesdc.go.th

สุวิน อภิชาตพัฒนศิริ. (2556). การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร. สืบค้นจาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/division/faci.envi/admin/download_files/10_93_1d9Vj9X.pdf

สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). ประเทศไทยและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สืบค้นจาก https://sdgs.nesdc.go.th

ออโต้อินโฟ. (2565). BEV ในภาคขนส่งประหยัดกว่าหรือสิ้นเปลืองกว่ากัน รถยนต์เครื่องยนต์ดีเซล. สืบค้นจาก https://www.autoinfo.co.th/article/400742/

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน). (2563). ข้อกำหนดและแนวทางการคำนวณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์. สืบค้นจาก https://thaicarbonlabel.tgo.or.th/index.php?lang=TH&mod=Y0hKdlpIVmpkSE5mWkc5M2JteHZZV1E9

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน). (2567). T-VER คืออะไร. สืบค้นจาก https://ghgreduction.Tgo.or.th/th/about-tver/t-ver.html

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน).(2561) . คู่มือการคํานวณปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกสําหรับโครงการภาคพลังงาน และของเสีย. สืบค้นจาก http://conference.tgo.or.th/download/tgo_or_th/Article/2018/GHG_Reduciton.pdf.

Demircan Çakar, N., Gedikli, A., Erdoğan, S., & Yıldırım, D. Ç. (2021). A comparative analysis of the relationship between innovation and transport sector carbon emissions in developed and developing Mediterranean countries. Environmental Science and Pollution Research, 28(33), 45693–45713. https://doi.org/10.1007/s11356-021-13390-y

Rives, J., Fernández-Rodríguez, I., Rieradevall, J., & Gabarrell, X. (2012). Environmental analysis of the production of champagne cork stoppers. Journal of Cleaner Production, 25, 1–13. https://doi.org/1016/j.jclepro.2011.12.001

Du, H., Chen, Z., Peng, B., Southworth, F., Ma, S., & Wang, Y. (2019). What drives CO2 emissions from the transport sector? A linkage analysis. Energy, 175, 195–204. https://doi.org/10.1016/j.energy.2019.03.052

Gao, Z., Lin, Z., & Franzese, O. (2017). Energy Consumption and Cost Savings of Truck Electrification for Heavy-Duty Vehicle Applications. Transportation Research Record: Journal of the Transportation Research Board, 2628(1), 99–109. https://doi.org/10. 3141/2628-11

Georgatzi VV, Stamboulis Y, Vetsikas A. (2020). Examining the determinants of CO2 emissions caused by the transport sector: empirical evidence from 12 European countries. Econ Anal Policy, 65, 11–20. https://doi.org/10.1016/j.eap.2019.11.003

Jiang Y, Zhou Z, Liu C. (2018).The impact of public transportation on carbon emissions: a panel quantile analysis based on Chinese provincial data. Environ Sci Pollut Res 26:4000–4012. https://doi.org/10.1007/s11356-018-3921-y

Khan, A. N., En, X., Raza, M. Y., Khan, N. A., & Ali, A. (2020). Sectorial study of technological progress and CO2 emission: Insights from a developing economy. Technological Forecasting and Social Change, 151, https://doi.org/10.1016/j.techfore.2019.119862

Lee, D.-Y., Thomas, V. M., & Brown, M. A. (2013). Electric urban delivery trucks: Energy use, greenhouse gas emissions, and cost-effectiveness. Environmental Science &Technology, 47(14), 8022–8030. https://doi.org/10.1021/es400179w

Ritchie, H., & Roser, M. (2020). CO2 and greenhouse gas emissions. Our World in Data. Thailand: CO2 Country Profile. https://ourworldindata.org/co2/country/thailand

Zhang, X., Li, Z., & Wang, J. (2021). Impact of COVID-19 pandemic on energy consumption and carbon dioxide emissions in China’s transportation sector. Case Studies in Thermal Engineering, 26, https://doi.org/10.1016/j.csite.2021.101091

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-01

How to Cite

MOOKDA, D. . การประเมินเปรียบเทียบปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ภาคการขนส่งสินค้าทางบกก่อน และภายใต้ สถานการณ์โควิด19 กับแนวคิดโลจิสติกส์สีเขียว กรณีศึกษาเส้นทางหลวงของกรุงเทพมหานคร. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 20, n. 1, p. 51–69, 2025. DOI: 10.60101/rmuttgber.2025.279500. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/279500. Acesso em: 21 พ.ค. 2025.

ฉบับ

บท

บทความวิจัย