บริบทการแข่งขันของธุรกิจทุเรียนของสหกรณ์การเกษตรภาคตะวันออก

ผู้แต่ง

  • Phat Pisitkasem Cooperatives Department, Faculty of Economics, Kasetsart University

DOI:

https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2025.278930

คำสำคัญ:

สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ , ความสามารถในการแข่งขัน , สหกรณ์การเกษตร , ทุเรียน

บทคัดย่อ

          การศึกษาวิจัย เรื่อง บริบทการแข่งขันของธุรกิจทุเรียนของสหกรณ์การเกษตรภาคตะวันออกมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมและความสามารถในการแข่งขันของเกษตรกรที่ประกอบธุรกิจทุเรียนในสหกรณ์การเกษตรภาคตะวันออก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญเป็นเกษตรกรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการปลูกและจัดจำหน่ายทุเรียนของสหกรณ์การเกษตรภาคตะวันออก จำนวน 10 คน สุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสัมภาษณ์เป็นแบบกึ่งโครงสร้าง ข้อมูลที่เก็บรวบรวมนำมาทำการวิเคราะห์เนื้อหา

          ผลการศึกษาพบว่า ด้านปัจจัยสภาพแวดล้อม การแข่งขันกันภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน ภัยคุกคามจากผู้แข่งขันรายใหม่ อำนาจต่อรองของลูกค้า อำนาจต่อรองของซัพพลายเออร์ อยู่ในระดับที่สูง มีเพียงภัยคุกคามจากสินค้าทดแทน ที่อยู่ในระดับที่ต่ำ ด้านความสามารถในการแข่งขัน ชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของทุเรียนไทยสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันที่ยั่งยืน คุณภาพและความปลอดภัยของผลผลิต รวมทั้งการวิจัยและพัฒนาทุเรียน GI สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันชั่วคราว กระบวนการขนส่งทุเรียนข้ามแดน สร้างความเสียเปรียบในการแข่งขัน

References

Asa A.R., Nautwima J.P., & Villet H. (2024). An integrated approach to sustainable competitive advantage. International Journal of Business and Society. 25(1), 201-222.

Barney J. (1991). Firm Resources and Sustained Competitive Advantage. Journal of Management. 17(1), 99-120.

Cooperative Promotion Department. (2024). Thailand's Cooperative History. Retrieved from https://www.cpd.go.th/knowledge/general-coop/item/38-historycoop-inthai.html

Department of Agricultural Extension. (2023). Report on the Situation of Perishable crops Production in the Eastern Region in 2023. Retrieved from https://www.doae.go.th/

Division of International Agricultural Economics (2023). Customs Department merchandise trade statistics information. Retrieved from https://www.oae.go.th/

Glaser B.G., & Strauss A.L. (1967). The Discovery of Grounded Theory: Strategies for Qualitative Research. Chicago: Aldine.National Agricultural Research Institute. (2022). Guidelines for developing durian production and marketing in Eastern Thailand. National Agricultural Research Institute.

Nastasi B.K., & Schensul S.L. (2005). Contributions of qualitative research to the validity of intervention research. Journal of School Psychology, 43(3), 177-195.

Porter M.E. (1990). The Competitive Advantage of Nations. The Free Press. New York.

Porter M.E. (1998). Competitive Strategy Techniques for Analyzing Industries and Competitors. The Free Press. New York.

Rothaermel, Frank T. (2021). Strategic management, 5e. (5). New York: McGraw Hill Education.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-01

How to Cite

PISITKASEM, P. บริบทการแข่งขันของธุรกิจทุเรียนของสหกรณ์การเกษตรภาคตะวันออก. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 20, n. 1, p. 38–50, 2025. DOI: 10.60101/rmuttgber.2025.278930. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/278930. Acesso em: 4 พ.ค. 2025.

ฉบับ

บท

บทความวิจัย