ผลกระทบของการพักชำระหนี้ชั่วคราวต่ออัตราผลกำไรสุทธิต่อหุ้นในกลุ่มธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • รณกร กิติพชรเดชาธร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ธีรัตม์ คุ้มรักษ์ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • อาทิตยา อักษรเสือ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • พัชรี ผาสุข คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

คำสำคัญ:

อัตราผลกำไรต่อหุ้น, ธนาคารพาณิชย์, การศึกษาย้อนหลัง, การพักชำระหนี้ชั่วคราว

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการภายใต้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการพักชำระหนี้ชั่วคราวต่ออัตราผลกำไรสุทธิต่อหุ้นในกลุ่มธนาคารโดยใช้วิธีศึกษาย้อนหลังตามกรอบเวลาซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากฐานข้อมูลทางการเงินเพื่อจัดทำเป็นชุดข้อมูลสำหรับการวิจัย วิเคราะห์และประเมินผลกระทบด้วยหลักสถิติเชิงพรรณนาและหลักสถิติเชิงอนุมาณจากการใช้แบบจำลองถดถอยพหุคูณที่ผ่านการตรวจคุณสมบัติพื้นฐานก่อนนำผลลัพธ์ที่ได้ไปบรรยายผล โดยผลการศึกษาเชิงประจักษ์สะท้อนให้เห็นว่าปัจจัยหลักที่ส่งผลให้อัตรากำไรสุทธิต่อหุ้นเกิดการเติบโตคือรายได้รวมของธนาคาร ภายใต้อิทธิพลควบคุมของอัตราแลกเปลี่ยน ความเพียงพอของเงินทุน และดัชนีตลาดหลักทรัพย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่าตัวแปรผลกระทบจากการพักชำระหนี้ชั่วคราวปรากฎอิทธิผลต่ออัตราผลกำไรสุทธิต่อหุ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในกลุ่มธนาคารขนาดใหญ่ของประเทศไทยแต่เพียงเล็กน้อยเท่านั้น

References

กรุงเทพธรุกิจ. (2565). เปิด 5 อันดับธนาคารใครใหญ่สุด. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/business/934352

ชาญณรงค์ ชัยพัฒน์. (2557). ผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยนที่มีต่อดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 28(85), 287-299.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2565). ข้อมูลมูลค่าอุตสาหกรรม. สืบค้นจาก https://www.set.or.th/

ธงไชย ยงศิริตระกูล. (2555). การเปรียบเทียบความสามารถของแบบจำลอง CAPM APT และ FAMA FRENCH ในการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์หมวดอาหารและเครื่องดื่มในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย).

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้รายย่อยที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/

ธนารักษ์ บางแบ่ง และ นงค์นิตย์ จันทร์จรัส. (2563). การเปรียบเทียบแบบจำลอง CAPM และ APT เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์หมวดขนส่งและโลจิสติกส์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 10(2), 176-193.

นาตยา ภู่มณี. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพคล้องและความสามารถในการทำกำไรของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 2(2), 46-59.

บุริศร์ ทุ่งสุงใส. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างของรายได้ดอกเบี้ยสุทธิกับรายได้ที่ไม่ใช่ดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย).

ภูมิฐาน รังคกูลนุวัฒน์. (2558). เศรษฐมิติเบื้องต้น พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยุพรัช เหลือคณาศุภร และ จักรพันธ์ สุขสวัสดิ์. (2564). การยอมรับเทคโนโลยีโมบายแบงค์กิ้งแอปพลิเคชันในกลุ่มช่วงอายุ 40 ถึง 60 ปี. การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 10, 10(1), 109-118.

รณกร กิติพชรเดชาธร และ อนงค์นุช เทียนทอง. (2562). การประกอบอาชีพเสริมกับคุณภาพชีวิตข้าราชการ: การประยุกต์ใช้แบบจำลองโครงสร้างความแปรปรวน. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 6(2), 89-103.

วรุณยุพา เอี่ยมจ้อย และ สันติยา เอกอัคร (2550). ผลกระทบของกลไกการส่งผ่านนโยบายการเงินที่มีต่อระบบเศรษฐกิจไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 14(1), 97-111.

วิชชุณี วงศ์ธนสารสิน และ นงค์นิตย์ จันทร์จรัส. (2564). บทบาทของโครงสร้างเงินทุนต่อผลการดำเนินงานทางการเงิน: กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารพัฒนาการเรียนรู้สมัยใหม่, 6(1), 1-15.

อนุตรา ไวแสน. (2562). ผลกระทบของการเผยแพร่ข้อมูลเศรษฐกิจการเงินของสหรัฐฯและไทยต่อความผันผวนของดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทย. สืบค้นจาก http://econ.nida.ac.th/wp-content/uploads/2019/08/5910312016.pdf

อารมย์ โกวิชัย และ นงนภัส แก้วพลอย. (2559). ปัจจัยทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลกระทบต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐอเมริกา. สืบค้นจาก http://utccmbaonline.com/ijbr/doc/(Edit)Id443-30-04-2016_12:36:08.pdf

Brunnermeier, M. K., Dong, G. N., & Palia, D. (2020). Banks’ noninterest income and systemic risk. The Review of Corporate Finance Studies, 9(2), 229-255.

Card, D., & Krueger, A. (1994). Minimum wages and employment: a case study of the fast-food industry in New Jersey and Pennsylvania. American Economic Review, 84(4), 772–93.

Fang, L., Li, L., & Yavas, A. (2021). The impact of distant hurricane on local housing markets. Journal of Real Estate and Finance Economic, 1-46.

Fisher, J. D., & Rutledge, S. R. (2021). The impact of hurricanes on the value of commercial real estate. Business Economics Journal, 56, 129–145.

Gujarati, D. N., & Porter, D. C. (2009). Basic econimetrics (5th ed.). New York: McGraw-Hill Education.

Saksonova, S. (2014). The role of net interest margin in improving banks’ asset structure and assessing the stability and efficiency of their operations. Procedia-social and Behavioral Sciences, 150, 132-141.

Smith, R., Staikouras, C., & Wood, G. (2003). Non-interest Income and Total Income Stability. Bank of England Working Paper, 198, 1-40.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-30

How to Cite

กิติพชรเดชาธร ร. .; คุ้มรักษ์ ธ.; อักษรเสือ อ. .; ผาสุข พ. . ผลกระทบของการพักชำระหนี้ชั่วคราวต่ออัตราผลกำไรสุทธิต่อหุ้นในกลุ่มธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ของประเทศไทย. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 17, n. 2, p. 47–59, 2022. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/262500. Acesso em: 19 เม.ย. 2025.