การประเมินความคุ้มค่าของการลงทุนของภาครัฐในแผนการวิจัย การศึกษาแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน

ผู้แต่ง

  • วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

การบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน, การศึกษา, ภาคอุตสาหกรรม, ความคุ้มค่าของการลงทุน

บทคัดย่อ

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจจากการลงทุนในแผนงานวิจัยด้านการพัฒนานวัตกรรมต้นแบบในการยกระดับการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงานระหว่างสถาบันการศึกษาและภาคอุตสาหกรรม (Work-integrated Learning: WIL) ระเบียบวิธีวิจัยคือการประเมินความคุ้มค่าแบบ Ex-ante โดยคำนวณค่า Social Return on Investment (SROI) ภายใต้สถานการณ์ที่ต่างกันและประยุกต์ใช้แบบจำลองกำหนดการผลิตและใช้ข้อมูลอนุกรมรายปี ระหว่างปี พ.ศ. 2534 ถึง พ.ศ. 2562 ผลการศึกษาพบว่า การลงทุนในแผนงานวิจัยมีความคุ้มค่าแผนงานวิจัยนี้สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นระหว่าง 70 ถึง 4,400 ล้านบาท และมีค่า SROI ระหว่าง 0.56 ถึง 35.88 ทั้งนี้ ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ประโยชน์สุทธิของแผนงานวิจัยนี้เพิ่มขึ้นคือการมีส่วนร่วมของสถาบันการศึกษา (สถาบันอาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัย) ในการจัดโครงการ WIL เพิ่มขึ้น และสัดส่วนของนักศึกษาจบใหม่ที่ทำงานในภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น

References

กษิรา กาญจนพิบูลย์ และ ธนาสิทธิ์ เพิ่มเพียร. (2559). แนวทางปฏิบัติตามแนวการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานที่เหมาะสมกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตและความต้องการของสถานประกอบการ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8(3), 165-177.

จิระเสกข์ ตรีเมธสุนทร. (2563). ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงานระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับสถานประกอบการในการพัฒนาด้านสมรรถนะของพนักงานฝ่ายผลิตในนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(1), 50-61.

ไชยยะ คงมณี, พลากร สัตย์ซื่อ และ ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์. (2561). ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนของโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในชุดโครงการการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 16(2), 44-56.

ปราโมทย์ สิทธิจักร และ วิไรวรรณ แสนชะนะ. (2560). การพัฒนาระบบจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเครือข่ายสังคมออนไลน์ สำหรับหลักสูตรท้องถิ่นผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 11(2), 59-82.

ปานเพชร ชินินทร และวิเชษฐ์ พลายมาศ. (2553). การศึกษาปัจจัยสู่ความสำเร็จของการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานสำหรับอุดมศึกษาไทย (Work Integrated Learning: WIL). ใน รายงานการประชุมวิชาการครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม (น. 1056-1063). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์. (2564). ผลกระทบของการเรียนการสอนในวิถีใหม่ต่อนักศึกษาระดับอุดมศึกษา: กรณีศึกษา นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ, 12(23), 36-54.

วลีรัตน์ สุพรรณชาติ. (2562). ผลตอบแทนจากการลงทุนวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตรของภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย. แก่นเกษตร, 47(5), 1077-1088.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการทำงานในสถาบันอุดมศึกษา (Work-Integrated Learning). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

สุริยะ พุ่มเฉลิม และ พัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2558). การออกแบบรูปแบบการจัดการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงาน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 6(2), 49-57.

อลงกต ยะไวทย์. (2559). การสอนในมหาวิทยาลัยทำไมต้องเป็น WIL. เอกสารประกอบการบรรยาย, สืบค้นจาก http://coop.tsu.ac.th/UserFiles/file/information/knowledgeWIL.pdf

Aucejo, E. M., French, J., Araya, M. P. U., & Zafar, B. (2020). The impact of COVID-19 on student experiences and expectations: Evidence from a survey. Journal of Public Economics, 191.

Casado-Aranda, L.-A., Sanchez-Fernandez, J., Montoro-Rios, F. J., & Horcajadas, M. I. A. (2021). Evaluation of the work-integrated learning methodology: Teaching marketing through practitioner experience in the classroom. Mathematics, 9(17), 2164.

de Vries, G., Arfelt, L., Drees, D., Godemann, M., Hamilton, C., Jessen-Thiesen, B., Kaya, A. I., Kruse, H., Mensah, E., & Woltjer, P. (2021). The Economic Transformation Database (ETC): Content, Sources, and Methods. WIDER Technical Note 2/2021.

Jackson, D. (2015). Employability skill development in work-integrated learning: Barriers and best practice. Studies in higher education, 40(2), 350-367.

Jackson, D., & Wilton, N. (2016). Developing career management competencies among undergraduates and the role of work-integrated learning. Teaching in Higher Education, 21(3), 266-286.

Jitsuchon, S. (2012). Thailand in a middle-income trap. TDRI Quarterly Review, 27(2), 13-20.

OECD. (2020). Thailand’s education system and skills imbalances: Assessment and policy recommendations. Economics Department Working Series No. 1641.

Rybnicek, R., & Konigsgruber, R. (2019). What makes industry-university collaboration succeed? A systematic review of the literature. Journal of Business Economics, 89, 221-250.

Smith, C. (2012). Evaluating the quality of work-integrated learning curricula: A comprehensive framework. Higher Education Research and Development, 31(2), 247-262.

Timmer, M. P., de Vries, G. J., and de Vries, K. (2015). Patterns of structural change in developing countries. In J. Weiss, & M. Tribe (Eds.), Routledge Handbook of Industry and Development (pp. 65-83). London: Routledge.

Warr, P. (1993). The Thai economy. In P. Warr (Ed.). The Thai Economy in Transition. Cambridge: Cambridge University Press.

Warr, P. G. (2019). Economic development of post-war Thailand. In: P. Chachavalpongun (ed.). Routledge Handbook of Contemporary Thailand. London: Routledge.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-30

How to Cite

ดุรงคเวโรจน์ ว. การประเมินความคุ้มค่าของการลงทุนของภาครัฐในแผนการวิจัย การศึกษาแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 17, n. 2, p. 22–33, 2022. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/257884. Acesso em: 5 พ.ค. 2025.