การจัดการความขัดแย้งและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ, สาเหตุของความขัดแย้ง, การจัดการความขัดแย้งบทคัดย่อ
บทความเรื่องการจัดการความขัดแย้งและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ มีวัตถุประสงค์ ในการศึกษาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการวิจัยในอนาคต การศึกษาใช้รูปแบบการทบทวนวรรณกรรมเป็น เครื่องมือในการวิเคราะห์เนื้อหา ทำการรวบรวมข้อมูลหลักฐานงานเขียนทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำมาวิเคราะห์บรรยายสรุปรวบรวมแนวคิดเป็นข้อเสนอแนะ ขั้นตอนดำเนินการประกอบด้วย การศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับความขัดแย้ง การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ จากนั้นทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความขัดแย้งในองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ผลการศึกษาพบว่าองค์ประกอบของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การมี 5 องค์ประกอบ ด้วยกันคือ การให้ความช่วยเหลือ การคำนึงถึงผู้อื่น ความสำนึกต่อหน้าที่ การให้ความร่วมมือ และความอดทน อดกลั้น ส่วนสาเหตุของความขัดแย้งในองค์การมี 5 สาเหตุด้วยกันคือ ความขัดแย้งจากข้อมูลความขัดแย้ง จากผลประโยชน์ ความขัดแย้งจากโครงสร้าง ความขัดแย้งจากความสัมพันธ์ และความขัดแย้งจากค่านิยม ในส่วนวิธีการจัดการความขัดแย้งในองค์การพบว่ามีด้วยกัน 5 วิธี คือ การเอาชนะ การประนีประนอม การยอม ให้ การหลีกเลี่ยง และการร่วมมือ จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าสาเหตุและวิธีการจัดการความขัดแย้งมี ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ
References
กุญชรี ค้าขาย. (2555). การศึกษาสมรรถนะการบริหารจัดการของผู้บริหารระดับสูงในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
กาญจนา สามิภักดิ์ และคณะ. (2551). การนำเสนอแนวทางการบริหารความขัดแย้งภายในองค์การ. (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).
คณิต เรืองขจร. (2557). การบริหารความขัดแย้งในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงาน กรณีศึกษาบุคลากรคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 4 แห่ง. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).
ชญารัศมิ์ ทรัพย์รัตน์ และประพันธ์ ชัยกิจอุราใจ. (2556). พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น. วารสารมหาวิทยาลัยฟาร์อิสเทอร์น, 7(1), 7-22.
ฐานิตย์ เกสร. (2551). ผลกระทบของการทำงานเป็นทีมและการบริหารความขัดแย้งที่มีต่อคุณภาพการสอบบัญชีของสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย มหาสารคาม).
พงษ์เทพ จันทสุวรรณ. (2558). The function of The executive Chester I. Barnard. วารสารสมาคม นักวิจัย, 20(2), 172-176.
ยุทธนา จันแก้ว. (2556). การจัดการความขัดแย้งของตำรวจในสถานตำรวจภูธรสีดา อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา. (ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).
วรชัย วิฒสิารกุล. (2551). สาเหตุและแนวทางการบริหารความขัดแย้งในการปฏิบัติราชการขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา. (การศึกษาอิสระปริญญา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
วัลลพ ล้อมตะคุ. (2554). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานสายปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี).
สฎายุ ธีระวณิชตระกูล. (2547, มิถุนายน-ตุลาคม). การส่งเสริมพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การอย่างยั่งยืน.วารสารศึกษาศาสตร์, 15-28.
สมิต สัชฌุกร. (2550). การบริหารความขัดแย้ง. สืบค้นจาก http://www.tpa.or.th/writer_this _book_topic.php?passTO=0f479457ee38074ece5d663d98a35853&bookID=653&read =true&count=true
สุนทรี ศักดิ์ศรี และนนทิรัตน์ พัฒนภักดี. (2557). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี และสถาบันพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วารสารวิชาการศิสปศาสตร์ประยุกต์, (8)2, 2-11.
ศิริวรรณ มนัตระผดุง. (2559). การจัดการความขัดแย้งในองค์การอย่างสร้างสรรค์. วารสารวไลยอลงกรณ์- ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(2), 194-208.
Barnard, C. I. (1938). The Function of Executive. Cambridge, Harvard University Press.
Clegg, S. R., Hardy, C., & Nord, W. R. (1996). Handbook of Organization Studies. London: SAGE.
Coffey, R. E., Cook C. W., & Hunsaker, P. L. (1994). Management and organization behavior. Bur Ridge: Irwin.
DuBrin, J. Andrew. (1998). Leadership research findings practical and skill. Houghton Miffin Company.
George, J. M., & Jones, G. R. (2002). Organizational Behavior (3rd ed.). New Jersey: Prentice – Hall.
Jackson, S. E., Schuler, R. S., & Werner, S. (2009). Management human resources (10thed.). Mason: Southwestren Publishing.
Katz, D. (1964, April). The motivational basis of organizational behavior. Behavioral Science, 9(2), 131-146.
Kreitner, R. & Kinicki, A. (2001). Organizational Behavior (5th ed). Boston: McGraw-Hill.
Moore, C. W. (2014) The mediation process: practical strategies for resolving conflict. (4thed). San Francisco: Jossey-Bass.
Moorhead, G., & Griffin, R. W. (1998). Organizational behavior: managing people and organizations. Boston: Houghton Mifflin.
Organ, D. W. (1987).Organizational citizenship behavior: the good soldier syndrome. Massachusetts: Lexington.
Organ, D. W., & Bateman, T. S. (1991).Organizational Behavior (4th ed.). Homewood: Irwin.
Robbins, S. P., & Coulter, M. (1999). Management (6th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Thomas, K. W., & Kilmann, R. H. (1987). Thomas –Kilmann conflict model interest. New York, NY: X/COM Incoporated.
Van Slyke, E. J. (1999). Listening to conflict: finding constructive solution to workplace disputes. New York: AMACOM.
Wayne, S. J., & Green, S. A. (1993). The effects of leader-member 276 research reports exchange on employee citizenship behavior and impression management behavior. Human Relations, 46, 1431–1440.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว