แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประนีประนอมในศาลยุติธรรม กรณีศึกษา: ศาลแรงงานภาค 2

ผู้แต่ง

  • ธัศฐ์ชาพัฒน์ ยุกตานนท์ สาขาการจัดการสาธารณะ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา
  • บรรพต วิรุณราช วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ภัทรี ฟรีสตัด วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

ผู้ประนีประนอม, การพัฒนาศักยภาพ, การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท, การเจรจาต่อรอง, คู่พิพาทคดีแรงงาน

บทคัดย่อ

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติและศักยภาพที่เหมาะสม รวมถึงศึกษา แนวทางการ พัฒนาศักยภาพของผู้ประนีประนอมประจำศาลแรงงานของประเทศไทย ซึ่งผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงประสานวิธี (Mixed method research) ซึ่งประกอบไปด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) ผลการศึกษาพบว่า คุณสมบัติและศักยภาพที่เหมาะสมของผู้ ประนีประนอม ประกอบด้วย 3 ด้านคือ 1. ด้านคุณสมบัติ 2. ด้านความรู้ความสามารถและทักษะ 3. ด้าน สมรรถนะซึ่ง แบ่งเป็น 13 ข้อย่อยดังนี้ คือ ด้านคุณสมบัติ ประกอบด้วย 1) จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้น ไป 2) มีความรู้และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการไกล่เกลี่ย 3) เป็นที่ยอมรับทางสังคม มีความรับผิดชอบ ไม่เคยมีประวัติอาชญากร 4) มีจิตอาสา และอุทิศเวลา ยอมรับความกดดัน ไม่มุ่งหวังสิ่งตอบแทน 5) มีความเป็นกลาง เสมอภาคไม่ลำเอียง ด้านความรู้ความสามารถและทักษะ ประกอบด้วย 1) มีความรู้ด้านกฎหมาย แรงงานและกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2) มีความรู้ความสามารถและทักษะการใช้จิตวิทยาในการเจรจาต่อรอง 3) มีความรู้ความสามารถและทักษะในการจับประเด็นสำคัญสรุปความได้ ส่วนด้านสมรรถนะประกอบด้วย 1) มีจริยธรรม ยึดมั่นในความถูกต้อง 2) มีความเข้าใจภารกิจการเป็นผู้ประนีประนอมอย่างถ่องแท้ 3) มีศิลปะ การเจรจาต่อรองและการไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง 4) มีคุณลักษณะการเป็นผู้นำ มีปฏิภาณไหวพริบและเป็นผู้ฟัง ที่ดี 5) มีความเชี่ยวชาญในการไกล่เกลี่ยประนีประนอม แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประนีประนอม คือ ควรมีการอบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายแรงงาน รวมถึงด้านการเจรจาไกล่เกลี่ยและจิตวิทยาในการเจรจาต่อรอง ทักษะในการสรุปความและจับประเด็นที่สำคัญ จัดรวบรวมคดีตัวอย่าง สร้างกลุ่มสัมพันธ์ให้ทำกรณีศึกษา จัดให้มีการศึกษาดูงานตามสถานที่ประกอบการ เป็นต้น

References

กมลวรรณ ตันเรืองศรี. (2553). ความพึงพอใจของผู้รับบริการในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชั้นศาล: ศึกษาเฉพาะกรณี ศาลอาญา ศาลแพ่ง และศาลแขวงพระนครเหนือ. (สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหา บัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. (2549). ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่องหลักเกณฑ์ วิธีการและหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2549. กรุงเทพฯ: กระทรวงแรงงาน.

เกษมสันต์ วิลาวรรณ. (2555). แนวความคิดในการระงับข้อพิพาทแรงงาน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

เกียรติศักดิ์ วัฒนศักดิ์. (2553). การเจรจาต่อรอง (Negotiation). นักบริหาร, 30(1), 74-79.

จิตติมา อัครธิติพงศ์. (2556). เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการพนักงานสัมพันธ์. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

เชาว์ โรจนแสง. (2554). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ หน่วยที่ 1-7. ในเอกสารการสอน ชุดวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ณพชาติ ธรรมศักดิ์. (2550). บทบาทของศาลและปัญหาในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคดีความที่ขึ้นสู่ศาล. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2545). คู่มือการพัฒนาระบบการบริหารผลงานยุคใหม่. กรุงเทพฯ: เอช อาร์เซ็นเตอร์.

นพพร โพธิรังสิยากร. (2550). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท. กรุงเทพฯ: สำนักระงับข้อพิพาท สำนักงานศาลยุติธรรม.

ดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม. (2558). “ศาลปกครอง” กับแนวทางการระงับข้อพิพาททางเลือก (ADR). หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, ฉบับวันที่ 25 มิถุนายน 2558, สืบค้นจาก http://www.manager.co.th/Crime/Viewnews.aspx?NewsID=9580000071768

ถวิลวดี บุรีกุล. (2550). วัดระดับการบริหารจัดการที่ดี. สถาบันพระปกเกล้า. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.

ถวิลวดี บุรีกุล. (2555). สถาบันการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย: การดำเนินงานของรัฐสภา ตามเกณฑ์และตัวชี้วัดของสหภาพรัฐสภา (IPU). กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.

ทองทศ สว่างไสว. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของผู้ประนีประนอม กรณีศึกษาศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท จังหวัดตราด. (ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).

พจน์ พจนพาณิชย์กุล. (2556). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของบุคคล. สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/potarticle/02

ไพโรจน์ บาลัน. (2551). Negotiation พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เนท.

มูฮัมหมัดรอฟีอีมูซอ. (2549). กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และการจัดการความขัดแย้งในชุมชนมุสลิม. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

เมเยอร์ เบอร์นาร์ด. (2553). พลวัตรการจัดการความขัดแย้ง. (บรรพต ต้นธีรวงศ์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: คบไฟ.

วงศ์วศิษฎ์ วรกิจโสภณไพศาล. (2552). ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางแพ่งก่อนเสนอคดีต่อศาล. (วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, วิทยาเขตชลบุรี)

วันชัย วัฒนศัพท์. (2550). ความขัดแย้ง: หลักการและเครื่องมือในการแก้ปัญหา พิมพ์ครั้งที่ 3. ขอนแก่น: ศิริภัณฑ์ออฟเซ็ท.

วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2551). ครบเครื่องเรื่องการเจรจาตอ่รอง. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย- ญี่ปุ่น).

วีระชัย ประดิษฐากรและคณะ. (2556). การนำวิธีการสื่อสารมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาทของผู้ประนีประนอมในศาลยุติธรรม. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 3(1), 17-27.

สถาบันพระปกเกล้า. (2555). รายงานการวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ. สืบค้นจาก http://kpi.ac.th/รายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ.html

สมภาคย์ ตระการกุลพันธ์. (2552). ขั้นตอนการไกล่เกลี่ยในกระบวนการยุติธรรม. ใน เอกสารวิชาการส่วน บุคคลหลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 12. (น.6-75). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม.

สราวุธ เบญจกุล. (2554). ประมวลจริยธรรมผู้ประนีประนอม. สืบค้นจาก http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9540000037637

สำนักระงับข้อพิพาท. (2550). คู่มือการระงับข้อพิพาทสำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: จิรรัชการพิมพ์.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2554). บริหารอย่างผม. ชลบุรี: เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2550). Career development in practice พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

Abu-Nimer, M. (2001). Reconciliation, justice, and coexistence: theory and practice. Lanham. MD: Lexington Books.

Barrett, G. V., & Depinet, R. L. (1991). A reconsideration of testing for competence rather than Intelligence. American Psychologists, 46(10), 1012-1024.

Bercovitch, J. (2009). Mediation and conflict resolution. In The Sage handbook of conflict esolution. (Ed.), Mediation and Conflict Resolution. (pp.340-345). Kremenyuk. London: SAGE Publications.

Bingham, F. T. (1985). Boron in water, soils and plants. Advances in Soil Science, 1, 229-276.

Blake, R. R., & Mouton, J. S. (1985, March). Presidential (grid) styles. Training and Development Journal, 13 (2), 3-6.

Chung, K. H., & Megginson, L. C. (1981). Organizational behavior: developing managerial skills. New York: Harper & Row.

Chutinon, P., & Shu-Haun, H. (2011). Buyer success and failure in bargaining and its consequences. Australian Journal of Business and Management Research, 1(5), 83-92.

Flanagan, J. C. (1954). The critical incident technique. Psychological Bulletin, 51(4), 327-358.

Folberg, J., & Taylor, A. (1984). Mediation: a comprehensive guide to resolving conflicts without litigation. San Francisco: Jossey-Bass.

Galtung, J. (1990). Cultural violence. Journal of Peace Research, 27(3), 291-305.

Gilley, J. W., Eggland, S. A., & Maycunich, G. (2002). Principles of human resource development. Reading, Mass.; Oxford: Perseus.

Greenberg, J. & Baron, R. A. (1997). Behavior in organizational (6thed.). New Jersey: Prentice – Hall.

Kierstead, D. C. (1998). Competencies and KSAO’s. Retrieved from http://www.hrma-agrh.gc.ca/research/personnel/comp_ksao_e.asp

Lohaus, D., & Kleinmann, M. (2002). Analysis of performance potential. In Sabine Sonnentag (Ed.), Psychological management of individual performance. (pp. 155-178). Chichester, UK: John Wiley & Sons.

Marjorie, C. A. (2006). Negotiating outcomes: expert solutions to everyday challenges (pocket mentor). USA: Harvard Business School Publishing Corporation.

Miall, H., Ramsbotham, O., & Woodhouse, T. (1999). Contemporary conflict resolution: the prevention, management and transformation of deadly conflicts. USA: Blackwell Publishers.

Mitchell, C. R. (1981). The structure of international conflict. UK: Palgrave Macmillan.

Moore, C. W. (1986). The mediation process: Practical strategies for resolving conflict. San Francisco: Jossey-Bass.

Murphy, C. (2010). A moral theory of political reconciliation. Cambridge: Cambridge University Press.

Pringle, D. (1994). The ultimate guide to science fiction: an a-z of science fiction books by title. (2nded.). Aldershot, England: Scolar Press.

Raelin, J. A., & Cooledge, A. S. (1996). From generic to organic competencies. Human Resource planning, 3(4), 24-33.

Rothwell, W. J., & Lindholm, J. E. (1999). Competency identification modelling and assessment in the USA. International Journal of Training and Development, 3(2), 90-105.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.

Rylatt, W. J. & Kazanass, H. C. (1994). Creating training miracles. Sydney: Prentice Hall.

Singer, M. G. (1990). Human resource management. Boston: PWS-KENT.

Smeltzer, L. R. (1991). An analysis of strategies for announcing organization-wide change. Group & Organization Studies, 16(1), 5–24.

Young, O. R. (1967). The Intermediaries: third parties in international crises. Princeton: Princeton University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-29

How to Cite

ยุกตานนท์ ธ.; วิรุณราช บ.; ฟรีสตัด ภ. แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้ประนีประนอมในศาลยุติธรรม กรณีศึกษา: ศาลแรงงานภาค 2. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 12, n. 2, p. 17–32, 2017. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/241912. Acesso em: 21 พ.ค. 2025.