แบบจำลองอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย กรณเีชิงประจักษ์จากไทย

ผู้แต่ง

  • พิทักษ์ ศรีสุขใส สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุขทัยธรรมาธริาช

คำสำคัญ:

แบบจำลองอัตราแลกเปลี่ยน, เงื่อนไขอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค, ความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว, แบบจำลอง ARIMA

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแตกต่างของอัตราดอกเบี้ยของไทยและอัตราดอกเบี้ยสหรัฐอเมริกา กับอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างบาทกับดอลลาร์สหรัฐ ผลการวิจัยพบว่า ความเคลื่อนไหวดังกล่าว ไม่สอดคล้องกับคำอธิบายของทฤษฎีอัตราดอกเบี้ยเสมอภาค ผลการพัฒนาแบบจำลองอัตราแลกเปลี่ยนพบว่า ปริมาณเงินในประเทศในช่วงเวลาปัจจุบัน ระดับราคาสินค้าและบริการ ของต่างประเทศในช่วงเวลาปัจจุบัน อัตราดอกเบี้ยของต่างประเทศในช่วงเวลาถัดไป และผลผลิตที่แท้จริงใน ช่วงเวลาปัจจุบัน เป็นปัจจัยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ผลการทดสอบเงื่อนไขของอัตราดอกเบี้ยเสมอภาคที่ไม่ได้ป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนพบว่า ไม่สามารถอธิบายอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างบาทกับดอลลาร์สหรัฐได้ แต่ผลการทดสอบแบบจำลองการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณระบุว่า ปริมาณเงินตามความหมายกว้างในประเทศไทย ส่งผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างบาทกับดอลลาร์สหรัฐในทางทิศทางเดียวกัน และดัชนีราคาผู้บริโภคในสหรัฐอเมริกา มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างบาทกับดอลลาร์สหรัฐในทางทิศทางตรงกันข้ามกัน และแบบจำลองดังกล่าวสามารถพยากรณ์การเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนได้ดีมาก ผลการทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว ปรากฎว่า มีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพระยะยาว 2 รูปแบบ และเมื่อมีการเบี่ยงเบนออกไปจากดุลยภาพ อัตราแลกเปลี่ยนจะปรับตัวเข้าหาดุลยภาพระยะยาวตามแบบจำลอง Error-correction โดยมีความเร็วเท่ากับร้อยละ 2.219 รวมทั้งแบบจำลอง VEC สามารถพยากรณ์การเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนได้ไม่ค่อยสมบูรณ์มากนัก แต่แบบจำลอง ARIMA (1, 1, 1) สามารถพยากรณ์ อัตราแลกปลี่ยนระหว่างบาทต่อดอลลาร์สหรัฐได้ดีกว่า

References

Cagan, P. (1956). The monetary dynamics of hyperinflation. In Milton Frieman, Ed, Studied in the quantity theory of money, Chicago. University of Chicago Press.

Engle, R. F. (1996). The Econometrics of Ultra-High Frequency Data. University of California at San Diego Economics Working Paper Series, 96-15.

Fama, E. F. (1984). Forward and spot exchange rates. Journal of Monetary Economics, 14, 319- 338.

Frenkel, J. A. (1976). A monetary approach to the exchange rate: Doctrinal aspects and empirical evidence. Scandinavian Journal of Economics, 78(May), 200-224.

Froot, K. and Thaler, R. (1990). Anomalies: Foreign Exchange. Journal of Economic Perspectives, 4, 2, 89-92.

Hodrick, R. J. (1987). The Empirical Evidence on the Efficiency of Forward and Futures Foreign Exchange Markets, Harwood, London.

Isard, P. (2006). Uncovered interest parity. IMF Working Paper, WP/06/96.

Lothian, J.R., Wu. L. (2011). Uncoverd interest-rate parity over the past two centuries. Journal of International Money and Finance, 30, 448-473.

Macdonald, R., M.P. Taylor. (1992). Exchange Rate Economics. A Survey. International Monetary Fund Staff Paper, 39, (1), 1-57.

McCallum, B. (1994). A reconsideration of the uncovered interest parity condition. Journal of Monetary Economics, 33, 105-132.

Meese, R.A., Rogoff, K. (1983). Empirical exchange rate models of the seventies: Do they fit Out of sample? Journal of International Economics, 14, 3-24.

Mussa, M. (1967). The exchange rate, the balance of payment, and monetary and fiscal policy under a regime of controlling floating. Scandinavian Journal of Economics, 78 (May), 229-248.

Pongsaparn, R. (2007). Inflation targeting in a small open economy: a challenge to monetary theory.” Bank of Thailand Discussion Paper.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-28

How to Cite

ศรีสุขใส พ. แบบจำลองอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย กรณเีชิงประจักษ์จากไทย. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 13, n. 1, p. 87–104, 2018. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/241905. Acesso em: 22 พ.ค. 2025.