ผลประโยชน์ของประเทศไทยจากความตกลงการค้าเสรีระหว่างอาเซียนกับฮ่องกง วิเคราะห์กรณีนโยบายและกฎหมายการลงทุน
คำสำคัญ:
ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน–ฮ่องกง, นโยบาย, กฎหมายการลงทุนบทคัดย่อ
ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน–ฮ่องกง เป็นความตกลงฉบับที่ 6 ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่ค้า โดยอาเซียนสามารถใช้ฮ่องกงเป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นประตูสู่ตลาดใหญ่ อย่างจีน เนื่องจากฮ่องกงมีความตกลงการค้าเสรีกับจีน สำหรับประเทศไทยเมื่อทำความตกลงการค้าเสรี อาเซียน–ฮ่องกง แล้วการส่งเสริมการลงทุนจากฮ่องกงเข้ามาสู่ประเทศไทยจะมากขึ้นหรือไม่นั้น มีประเด็นที่ควรพิจารณาคือ โดยทั่วไปนโยบายและกฎหมายการลงทุนที่จะเพิ่มความมั่นใจให้นักลงทุนในประเทศภาคี จะมีสารระสำคัญที่ประเทศภาคีที่เป็นที่ลงทุนจะต้องให้การปฏิบัติต่อนักลงทุนของประเทศภาคีอื่นอย่างเป็น ธรรมและเท่าเทียมกับนักลงทุนของประเทศภาคีที่เป็นที่ลงทุน จะต้องไม่เลือกปฏิบัติในการให้สิทธิประโยชน์ในการคุ้มครองการลงทุน การให้ความยุติธรรมในกระบวนการทางกฎหมายและการปกครอง รวมทั้งการให้ความสะดวกรวดเร็วในการพิจารณาการลงทุน การให้สิทธิพิเศษในด้านภาษี การสร้างบรรยากาศการลงทุนที่เหมาะสม การให้ความสะดวกในการโอนเงินการลงทุน การแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
References
ธัญลักษณ์ ทองร่มโพธิ์. (2554). วิเคราะห์ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน ค.ศ. 2009 ศึกษาพัฒนาการเรื่องการเปิดเสรีการลงทุนอาเซียนและความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าเป็นภาคี. (วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ.2520. (2520, 4 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. หน้า. 1-40.
สมจินต์ สันถวรักษ์, โอม หุวะนันท์, พัชนีย์ ธระเสนา และสุปราณี ธรรมพิทักษ์. (2556). การศึกษาผลกระทบ และกลยุทธ์การเจรจาที่เหมาะสมสำหรับไทยต่อการเข้าเป็นภาคีของฮ่องกงในความตกลง การค้าเสรีอาเซียน-จีน. นนทบุรี: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์.
สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองฮ่องกง. (2560). เศรษฐกิจ/ การเมือง. เข้าถึงได้จาก www.thai-consulate.org.hk
สรัญญา ภาโสม. (2554). การวิเคราะห์การส่งออกและการน าเข้าสินค้าระหว่างไทยกับฮ่องกง. (วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลับรามคำแหง).
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2542). พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
Chocksuchart, T. (2011, September). Types and economic effects of economic integration. RMUTP Research Journal, 4(2), 131.
ASEAN comprehensive investment agreement. (2013). Retrieved from http://www.asean.org/storage/images/2013/economic/aia/ACIA_Final_Text_26 %20Feb%202009.pdf
Association of Southeast Asian Nations n.d. The ASEAN free trade area (AFTA). Retrieved from http://asean.org/asean-economic-community/asean-free-trade- area-FTA-council/
The ASEAN Secretariat. (2016). ASEAN economic community chart book 2016. Jakarta: The ASEAN Secretariat.
The ASEAN Secretariat. (2016, September). ASEAN statistical leaflet – selected key indicators. Retrieved from http://www.aseanstats.org/asean-statistics-leaflet- selected-key-indicators-2016/
Trade and Industry Department, The government of the Hong Kong special administrative region. (2016). Hong Kong's Free Trade Agreements (FTAs). Retrieved from https://www.tid.gov.hk/english/ita/FTA/index.html
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว