กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการที่มีอิทธพิลต่อการรับรู้คุณภาพบริการและความภักดีของนักท่องเที่ยวต่างชาติในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อารีย์ลักษณ์ ตระกูลมุกทอง สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยสยาม

คำสำคัญ:

ส่วนประสมการตลาดบริการ, การรับรู้คุณภาพบริการ, การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ คุณภาพบริการและความภักดีของนักท่องเที่ยวต่างชาติในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเทศไทย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักท่องเที่ยวต่างชาติที่ใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนในจังหวัดที่นิยม ท่องเที่ยวสูงสุดใน 5 ภูมิภาคของประเทศไทย ประกอบด้วย จังหวัดกรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ อุดรธานี ชลบุรี และภูเก็ต จำนวน 400 คน ผลการวิจัย พบว่า กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อการ รับรู้และความภักดีของนักท่องเที่ยวต่างชาติในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเทศไทย ประกอบด้วย ส่วนประสมการตลาดบริการ การรับรู้คุณภาพบริการ และความภักดีของนักท่องเที่ยว โดยนักท่องเที่ยวต่างชาติให้ ความสำคัญด้านปัจจัยการรับรู้คุณภาพบริการมากที่สุด เนื่องจากมีอิทธิพลทางตรงต่อความภักดีสูงที่สุด และ รองลงมา คือ ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการ ตามลำดับ นอกจากนี้ ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการ ยังมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยส่งผ่านการรับรู้คุณภาพบริการ

References

กรมการท่องเที่ยว. (2557). สถิตินักท่องเที่ยวภายในประเทศ (แยกตามภูมิภาค) 2557. สืบค้นจาก http://tourism2.tourism.go.th/home/details/11/221/24710

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2557). รายงานสรุปผลโครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ. สืบค้นจาก http://pmsn.hss.moph.go.th

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2557). ความหมายและประเภทของการท่องเที่ยว. สืบค้นจาก http://tourism.go.th/

กฤต พันธุ์ปัญญา. (2555). แนวทางการพัฒนาสถานพยาบาลในจังหวัดพะเยาเพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ: กรณีศึกษานักท่องเที่ยวชาวไทย. (การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง, มหาวิทยาลัยพะเยา).

จิระวดี คุณทรัพย์ และ ชัชฏารัชช์ กุลาหงส์. (2557). สถานการณ์และการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของประเทศไทย. จุลสารวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

จิรัฐ เจนพึ่งพร และพัชรา พัชราวนิช. (2555). การวิเคราะห์ความพึงพอใจและความจงรักภักดีของลูกค้า โรงแรมราคาประหยัดด้วยตัวแบบ ECSI. ในงานประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2555. กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชัยวัช โซวเจริญสุข. (2556). ภาพรวมธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยธุรกิจ สายงานบริหาร ความเสี่ยง ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน).

ทิพวรรณ พุ่มมณี. (2550). การจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2555). ธุรกิจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโอกาสของไทยในการรุกตลาดอาเซียน. สืบค้นจาก http://www.ksmecare.com/Article/82/28465/

สมพร คำผง. (2557). คุณภาพโรงพยาบาลเอกชนไทยสู้เขาได้. กรุงเทพฯ: สมาคมโรงพยาบาลเอกชน.

Aaker, D. A. (1991). Managing brand equity: capitalizing on the value of a brand name. New York: Free Press.

Armstrong, G. & Kotler, P. (2014). Marketing: an introduction (9th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.

Booms, B. H. & Bitner, M. J. (1981). Marketing strategies and organization structures for service firm. Chicago: American Marketing Association.

Chitty, B., Ward, S. & Chua, C. (2007). An application of the ECSI model as a predictor of satisfaction and loyalty for backpacker hostels. Marketing Intelligence and Planning, 25(6), 563.

Dmitrovic, T., Cvelbar, L. K., Kolar, T., Brencic, M. M., Ograjensek, I. & Zabkar, V. (2009). Conceptualizing tourist satisfaction at the destination level. International Journal of Culture, Tourism and Hospitality Research, 3(2), 116-126.

Donnelly, J. H. & George, W. R. (1981). Marketing of services. Chicago: American Marketing Association.

Kotler, P. & Keller, K. L. (2006). Marketing management (12th ed.). New Jersey: Pearson Prentice Hall.

Mechinda, P. & Anuwishanont, J. (2010). An examination of tourist’s loyalty towards medical tourism in Pattaya, Thailand. New York: Delmar.

Middelton, V. T. C. (1994). Marketing for travel and tourism (2nd ed). London: ButterworthHeinemann.

Mill, R. C. & Morrison, A. M. (2009). The tourism system: an introductory text. New York: Prentice Hall.

Morrison, A. M. (2010). Hospitality and travel marketing (4th ed). New York: Cengage Learning, Clifton Park.

Panjakajornsak, V. (2011). Analyzing the effects of past visits, image and satisfaction on loyalty of foreign tourists: a model of destination loyalty. Development Journal, 51(2).

Parasuraman, A. & Grewal, D. (2000). the impact of technology on the quality - value - loyalty chain: a research agenda. Journal of the Academy of Marketing Science, 28(1), 168-170.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A. & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of services quality and its implication for future research. Journal of Marketing, 49(4), 41-50.

Payne, A. (1993). The essence of service marketing. London, UK: Prentice Hall International.

Schumacher, R. E. &. Lomax, R. G. (1996). A beginner's guide to structural equation modeling. Mahwah, New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

Suki, N. M. (2011). Assessing patient satisfaction, trust, commitment, loyalty and doctors’ reputation towards doctor services. Pakistan Journal of Medical Sciences, 27(5), 1207-1210.

Zeithaml, V. A. & Bitner, M. J. (1996). Services marketing. New York: McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-30

How to Cite

ตระกูลมุกทอง อ. กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการที่มีอิทธพิลต่อการรับรู้คุณภาพบริการและความภักดีของนักท่องเที่ยวต่างชาติในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพประเทศไทย. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 11, n. 2, p. 115–128, 2016. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/241967. Acesso em: 8 เม.ย. 2025.