การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจปัจจัยที่มีอิทธิพลตอ่การตัดสินใจซื้อบริการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ, โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่สำคัญของการตัดสินใจซื้อโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร โดยทำการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้บริการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400 ตัวอย่าง ทำการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory factor analysis) โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจด้วยวิธีสกัดองค์ประกอบหลัก (Principal component analysis) และหมุนแกนองค์ประกอบตั้งฉากด้วยวิธีแวริแมกซ์(Varimax) ผลการวิจัยพบว่า ชุดตัวแปรที่ทำการศึกษาสามารถวิเคราะห์องค์ประกอบได้ 4 องค์ประกอบ ประกอบด้วย การบริหารให้สินค้าแตกต่างจากคู่แข่ง, การบริหารคุณภาพการให้บริการ, การส่งเสริมการตลาด และภาพลักษณ์ของสินค้า ซึ่งสามารถอธิบายความแปรปรวนสะสมได้ 62.309 ผลการวิจัยแสดงให้ปัจจัยที่สำคัญต่อการตัดสินใจซื้อโทรทัศน์ซึ่งถ้าผู้ประกอบการนำปัจจัยดังกล่าวนี้ไปประยุกต์ใช้กับกลยุทธ์ทางการตลาดสามารถที่จะสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันได้
References
คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2558). สัดส่วนช่องทางในการเข้าถึงการรับชมโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม. สืบค้นจาก http://broadcaststat.nbtc.go.th/analytics/saw.dll?Dashboard.
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ทิพย์วัลย์ สีจันทร์ และคณะ. (2546). พลวัตการเกษตรและเศรษฐกิจชุมชนภาคกลาง: กรณีศึกษา ต.ทุ่งลูกนก อ.กำแพงแสนจ. นครปฐม. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์.
ธัญญพัสส์ เกตุประดิษฐ์ และ อิทธิกร ขำเดช (2554) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าทางอินเตอร์เนตของผู้หญิงในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการเงินการลงทุนการตลาดและการ บริหารธุรกิจ, 1(2), 21-39
ธนวรรณ แสงสุวรรณ และคณะฯ. (2547). การจัดการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดนไชน่า.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2538). ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น (Lisrel) สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. (มปป). หลักการตลาด: เอกสารการเรียนรายวิชาหลักการตลาด. สืบค้นจาก http://elearning.bu.ac.th/mua/course/mk212/index.htm
เมธาวี จารุวัฒน์จีรังกร และ อิทธิกร ขำเดช. (2555). การศึกษาการตัดสินใจเลือกซื้อโทรทัศน์สามมิติในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการเงินการลงทุนการตลาดและการบริหารธุรกิจ, 2(3), 113-134.
รัชนี ไพศาลวศ์ดี และ อิทธิกร ขำเดช. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเสื้อผ้าสตรีทางอินเทอร์เน็ตของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการเงินการลงทุนการตลาดและการ บริหารธุรกิจ, 3(1), 529-545.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะฯ. (2552). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาศึกษา
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2543). พฤติกรรมผู้บริโภค (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Arun, S. & Rajnandini, P. (1996). Customer’s Decision-Making Styles and their Preference for Sales Strategies: Conceptual Examination and Empirical Study. The Journal of Personal Selling & Sales Management, 14(1), 21-33.
Chenet, P., Dagger, T. S., & O’Sullivan, D. (2010). Service quality, trust, commitment and service differentiation in business relationships. Journal of Services Marketing, 24(5), 336-346.
Crosby, P. B. (1979). Quality is Free. New York: Mc-Graw-Hill.
Deka, P. K. (2016). Segmentation of Young Consumers of North-East India Based on Their Decision-Making Styles. The IUP Journal of Marketing Management, 15(12), 65-83.
Gronroos, C. (1990). Relationship Approach to Marketing in Service Contexts : The Marketing and Organizational Behavior Interface. Journal of Business Research, 20,(1), 3-17.
Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis. (6th ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Kotler, P. (1997). Marketing management: analysis, planning implementation and control. (9th ed.). New Jersey: Asimmon & Schuster.
Kotler, P. (2000). Marketing management: analyzing consumer marketing and Buyer Behavior. New Jersey: Prentice Hall.
Lee, H. M., Lee, C. C., & Wu, C. C. (2011). Brand image strategy affects brand equity after M&A. European Journal of Marketing, 45(7/8), 1091-1111.
Lynsonski, S., Durvasula, S. (1996). Consumer decision making styles: a multi-country investigation. European Journal of Marketing, 30(12), 10-21.
Sprotles, G. B., & Kendall, E. L. (1986). A Methodology for Profiling Consumer’s Decision Making Styles. The Journal of Consumer Affairs, 20(2), 276-279.
Scott, S. G. & Bruce, R. A. (1995). Decision-making style; The development and assessment of a new measure. Educational and Psychological Measurement, 55(5), 818-831.
Yamane, T. (1967). Statistics: an introductory analysis (2nd ed.). New York: Harper & Row.
Yan, R.. (2010). Product brand differentiation and dual-channel store performance of a multi-channel retailer. European Journal of Marketing, 44(5), 672-692.
Zadeh, E. G. & Mozaffari, A. (2014). The Impact of Satellite TV Channels on Lifestyle Changes for Women in Iran. International Journal of Business and Social Science, 5(3), 126-130.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว