พฤติกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผักปลอดภัยผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดหลากช่องทางของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ผู้แต่ง

  • วิศิษฐ์ ฤทธิบุญไชย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

คำสำคัญ:

การตัดสินใจซื้อ, ผักปลอดภัย, การตลาดหลากช่องทาง

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การตัดสินใจซื้อสินค้าผักปลอดภัย และการตลาดหลากช่องทาง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 2) ปัจจัยที่่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผักปลอดภัย และการตลาดหลากช่องทาง และ 3) แนวทางการพัฒนาการตัดสินใจซื้อสินค้าผักปลอดภัยผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดหลากช่องทาง ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี เก็บข้อมูลจาก ผู้บริโภคในสินค้าผักปลอดภัย ผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการตลาดหลากช่องทางของผู้บริโภคในกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวน 750 คน และผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ผู้ประกอบการสินค้าผักปลอดภัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 3 ราย เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามที่ผ่านความตรงเชิงเนื้อหา ความเที่ยง และแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการตัดสินใจซื้อผักปลอดภัย เมื่อจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบความแตกต่างทั้งในภาพรวมและรายด้าน ในปัจจัยด้าน อายุ สถานภาพ การศึกษา รายได้ และอาชีพ 2) การตัดสินใจซื้อผักปลอดภัยผ่านการตลาดหลากช่องทาง เกิดจากอิทธิพลทางรวมของส่วนประสมทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (TE=0.78) แต่สำหรับการยอมรับเทคโนโลยีจะส่งอิทฺธิพลทางรวมเชิงลบ (TE=-0.36) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ มีค่าอำนาจการพยากรณ์ร้อยละ 90 3) แนวทางการพัฒนาการตัดสินใจซื้อสินค้าผักปลอดภัยผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดหลากช่องทาง ผู้ประกอบการต้องมีความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ซื้อ กับผู้ที่ใช้แอปพลิเคชันในการซื้อ ว่าเป็นคนละกลุ่มกัน ต้องปรับตัวให้เข้ากับบริบท และแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงในการยอมรับเทคโนโลยีที่มากขึ้นในชีวิตวิถีใหม่

References

กรณษา แสนละเอียด, พีรภาว์ ทวีสุข และ ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล. (2560). การยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อแนวโน้มความตั้งใจในการใช้บริการซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ของกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ในกรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 9(3), 3-15.

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2551). Training and Certification Program for APEC IBIZ: E-commerce. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

ขวัญกมล ดอนขวา, สุมาตรา โพธิ์มะฮาด และ นภิสรา พิษสุวรรณ. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อผักปลอดสารพิษในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารชุมชนวิจัย, 13(3), 81-93.

จิตรลดา วิวัฒน์เจริญวงศ์. (2562). ส่วนประสมการตลาดออนไลน์. สืบค้นจาก http://spssthesis.blogspot.sg/

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ณัฏฐ์ พงษ์อัคคศิรา และ ปาลิดา ศรีศรกำพล. (2561). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผักหวานป่าของผู้บริโภคในเขตจังหวัดราชบุรี. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 5(1), 59-80.

ฐานข้อมูลบูรพาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2526). หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร. สืบค้นจาก http://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p051.html.

ธเนศ อุ่นปรีชาวณิชย์. (2562). เงื่อนไขการเปลี่ยนผ่านพฤติกรรมการบริโภคที่ส่งผลต่อรูปแบบการบริโภคที่ยั่งยืนในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 6(1), 299-312.

ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์. (2563). การขายสินค้าผ่านการสนทนาออนไลน์: แนวโน้มใหม่ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 19(1), 205-209.

รชิดา สิริดลลธี. (2561). การโฆษณาผ่านเกมเพื่อสื่อสารตราสินค้าในยุคดิจิทัล. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 5(2), 20-45.

วสุธิดา นุริตมนต์. (2562). อิทธิพลของการยอมรับเทคโนโลยีที่มีต่อพฤติกรรมการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์เคลื่อนที่. วารสารสหวิทยาการวิจัย ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(พิเศษ), 189-199.

วิเชียร วงศ์ณิชชากุล. (2550). การบริหารการส่งเสริมการตลาด. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สิงหะ ฉวีสุข และ สุนันทา วงศ์จตุรภัทร. (2555). ทฤษฎีการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. สืบค้นจาก http://www.journal.it.kmitl.ac.th

สิริชัย ดีเลิศ และ สุภาวดี รัตนพงศ์พันธ์. (2561).ปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่มผู้บริโภคตลาดเฉพาะกลุ่ม. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(1), 2404-2424.

สุรัชดา เชิดบุญเมือง, จิรวุฒิ หลอมประโคน และ วิสุทธ์ กล้าหาญ. (2557). ปัจจัยการตลาดและพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(พิเศษ), 76-91.

ยุพิน พิทยาวัฒนชัย. (2555).การตลาดหลายช่องทาง:แนวทางที่จะทำให้ธุรกิจประสบความสำเร็จในยุคดิจิทัล. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 1(1), 33-48.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). รายงานสถิติรายปีประเทศไทย พ.ศ.2564. กรุงเทพฯ: สำนักงาน.

อาณัติ ลีมัคเดช. (2546). เรียนรู้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ภาคทฤษฏีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: เอ.อาร์.บิซิเนส เพรส.

อรุณี พึงวัฒนานุกูล. (2562). ส่วนประสมการตลาดผักปลอดสารพิษโครงการหลวงของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 11(1), 278-282.

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2556). พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (มุมมองด้านการบริหาร). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

Auno, R. (2016). Conflicts of supply chains in multi-channel marketing: a case from northern Finland. Journal Technology Analysis and Strategic Management, 28( 4), 477-491.

Davis, F. D., Bagozzi, R., & Warshaw, P. (1989). User acceptance of computer technology a comparision of two theoretical models. Management Science, 35(8), 982-1003.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). New York: Pearson.

Hongshuang, L., & Kannan, P. K. (2014). Attributing conversions in a multichannel online marketing environment: an empirical model and a field experiment. Journal of Marketing Research, 15(1). 40-56.

Kotler, P. (2003). Marketing Management (11th ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Kushwaha, T., & Shankar, V. (2012). How valuable are multichannel customers? the moderating effects of product category on the relationship between channel preference and monetary value. UNC Kenan-Flagler Research Paper No. 2013-8. Retrieved from http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.2056379

Ooi, K. B., & Tan, G. W-H. (2016). Mobile technology acceptance model: an investigation using mobile users to explore smartphone credit card. Journal of Expert Systems with Applications, 59, 33-46.

Pogorelova, E., Yakhneeva, I., Agafonova, A., & Prokubovskaya, A. (2016). Marketing mix for e-commerce. International Journal Of Environmental And Science Education, 11(14), 6744-6759.

Rogers, E. M. (2003). Diffusion of innovations (5th ed.). New York: The Free Press.

Tassabehji, R. (2003). Applying e-commerce in business. London: SAGE Publications.

Wertime, K., & Fenwick, I. (2008). Digi marketing: the essential guide to new media and digital marketing. UK.: John Wiley & Sons.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30

How to Cite

ฤทธิบุญไชย ว. . พฤติกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผักปลอดภัยผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และการตลาดหลากช่องทางของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 16, n. 2, p. 141–154, 2021. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/254184. Acesso em: 4 เม.ย. 2025.