การพัฒนาตัวแบบพหุระดับการจัดการคนเกง่เพื่อเสรมิสร้างสมรรถนะภาวะผู้นำเชิงรุกระดับหัวหน้างานในอุตสาหกรรมค้าส่งของไทย

ผู้แต่ง

  • อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ธีระวัฒน์ จันทึก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การจัดการคนเก่ง, เสริมสร้างสมรรถนะภาวะผู้นำเชิงรุก, ระบบเครือข่ายข้อมูล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวโน้มองค์ประกอบของตัวแบบพหุระดับการจัดการคนเก่งเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะภาวะผู้นำเชิงรุกระดับหัวหน้างานในอุตสาหกรรมค้าส่งของไทยด้วยการประยุกต์ใช้เทคนิค การวิจัยเอกสาร จำแนกตามระดับองค์การ กับระดับบุคคล ซึ่งงานวิจัยเชิงคุณภาพนี้ได้ทำการวิจัยเอกสารที่ เกี่ยวข้องกับแนวคิด ทฤษฎี จากนั้นทำการสังเคราะห์เอกสารสรุปเป็นตารางสังเคราะห์องค์ประกอบ และ สังเคราะห์เอกสารตามแนวทางการประยุกต์ระบบเครือข่ายข้อมูลโดยใช้โปรแกรม ปาเจ็ก (Pajek) เพื่อจัดกลุ่ม แนวโน้มองค์ประกอบและหาความสัมพันธ์ของเครือข่ายข้อมูลตามประเด็นต่างๆ ของตัวแบบพหุระดับการจัดการคนเก่งเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะภาวะผู้นำเชิงรุก ผลการวิจัยได้แก่ 1) ตัวแบบการวิจัยความสัมพันธ์เชิงสาเหตุแบบมีโครงสร้างระดับองค์การ ประกอบด้วย การจัดการคนเก่ง ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนา ภาวะผู้นำ บรรยากาศองค์การ และภาวะผู้นำเชิงรุก และ 2) ตัวแบบการวิจัยความสัมพันธ์เชิงสาเหตุแบบมี โครงสร้าง ระดับบุคคล ประกอบด้วยตัวแปร บุคลิกภาพผู้นำ ความคิดสร้างสรรค์ การเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ทักษะทางการบริหาร และ ภาวะผู้นำเชิงรุก

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (2558). เทคนิคการวางแผนยุทธศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ. เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม. เข้าถึงได้จาก http://www.dbd.go.th/more_news.php?cid=267

แคทลียา ศรีใส. “ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการสร้างทีมงานของผู้บริหารโรงเรียน เอกชน สำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 3.” วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548

วิชญะ ประกรรษวัต. “ลักษณะทีมงานด้านนโยบายของเทศบาลนครพิษณุโลก.” วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐ ประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2551

เสรี พงศ์พิศ. (2546). แผนชีวิต เศรษฐกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร: ภูมิปัญญาไท

เสรี พงศ์พิศ. (2548). เครือข่าย: ยุทธวิธ เพื่อประชาคมเข้มข้น ชุมชนเข้มแข็ง. กรุงเทพมหานคร: โครงการ มหาวิทยาลัยชีวิต สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน.

สุวิชชา สุทธิธรรม. อิทธิพลของบุคลิกภาพแบบห้าองค์ประกอบของผู้นำต่อผลงาน ความไว้วางใจในตัวผู้นำ และความคาดหวังที่จะเติบโตในงานของผู้ตาม โดยมีความเป็นผู้นำแบบนักปฏิรูปของผู้นำเป็นตัวแปรส่งผ่าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาสังคม มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์, 2553

อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล และธีระวัฒน์ จันทึก (2558). “การบริหารจัดการคนเก่งเชิงกลยุทธ์: ปัจจัยสำคัญสู่ความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน” Veridian E-Journal. 8 (3): 1096-1112

อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล และธีระวัฒน์ จันทึก (2559). “ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง : เปลี่ยนความท้าทายก้าว สู่ความสำเร็จขององค์การอย่างยั่งยืน” Veridian E-Journal. 9 (1)

อภิชาติ ไตรธิเลน. (2550) “สภาพการทำงานเป็นทีมในโรงเรียนที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานทั่วไปในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนครเขต 1.” วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร, 2554

อุราภรณ์ คูนาเอก. “ทักษะการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการนิเทศในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1” วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2554

อโนชา วันแต่ง. “ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การเชิงสร้างสรรค์ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ.” วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (วิชาการบริหารการพยาบาล) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์, 2551

Abraham, C., and Asher, T., (2006). The relative importance of the top management team's managerial skills. International Journal of Manpower. 27(1): 9 - 36

Ajay, K. J., Sabir I.G., and Cary L.C., (2013). Perceived organizational support as a moderator in the relationship between organisational stressors and organizational citizenship behaviors. International Journal of Organizational Analysis 21 (3): 313 – 334

Anca, S., and Marcela, A. (2014). Talent Competitiveness and Competitiveness through Talent. Procedia Economics and Finance 16: 506-511

Anika, D., Astrid, C. H., Diana, B., Sven C. V., and Daniela, G., (2015). Transformational leadership sub-dimensions and their link to leaders' personality and performance. The Leadership Quarterly. 1-26

Ashton, C., & Morton, L. (2005). Managing talent for competitive advantage. Strategic HR Review, 4(5): 28-31.

Bass, B.M. and Avolio, B.J., (1994). Improving Organization Effectiveness Through Transformational Leadership. (Thousand Oak: Sage).

David, G.C., and Kamel, M. (2009). Strategic talent management: A review and research agenda. Human Resource Management Review 19: 304-313

Gubman, E.L. (1998). The Talent Solution: Aligning Strategy and People to Achieve Extraordinary Results. United States: The McGraw-Hill Companies.

Ibraiz, T., and Randall S. S., (2010). Global talent management: Literature review, integrative framework, and suggestions for further research. Journal of World Business 45: 122-133

Jon, A.A., (2006). Leadership, personality and effectiveness. The Journal of SocioEconomics 35: 1078–1091

Marin, A.; and Wellman, B. (2011). Social Network Analysis: An Introduction. In The SAGE Handbook of Social Network Analysis. Edited by J. Scott & P. J. Carrington. pp. 11-25. London: SAGE

Michaels, E., Handfield-Jones, H., & Axelrod, B. (2001). The war for talent. Boston: Harvard Business School Press.

Mohammed, I.A., and Farhad, A., (2003). Managerial Skills and SMEs’ Developments in Palestine Career Development International. 8 (7): 367 – 379

Neil, A., Kristina, P., and Jing, Z., (2014). Innovation and Creativity in Organizations: A State-ofthe-Science Review, Prospective Commentary, and Guiding Framework activity. Journal of Management. 40 (5): 1297–1333

Oussama, S., and Gholam, A. S. (2014). Factors affecting virtual team performance in telecommunication support environment. Telematics and Informatics 31: 459-462

Peter, C., (2008). Talent Management for the Twenty-First Century. Harvard Business Review 3: 1-9

Shadi, E.M., and 0Noor, A.M. , (2015). New approach to leadership skills development (developing a model and measure), Journal of Management Development. 34 (7): 821 – 853

Steve, N., (2012). Preparing our leaders for the future. Strategic HR Review. 11(1): 5 – 12

Sumi, J., (2014). Transformational leadership and psychological empowerment. South Asian Journal of Global Business Research 3(1): 18 – 35

Wenhui, Z., Hui, W., Craig, L. P. (2014). Consideration for future consequences as an antecedent of transformational leadership behavior: The moderating effects of perceived dynamic work environment The Leadership Quarterly 25 (2): 329–343

V. Batagelj and A. Mrvar, Pajek-Analysis and Visualization of Large Networks in Graph Drawing Software, Springer Berlin Heidelberg, pp. 77–103, 2004.

Yalcin, V., Pelin, V., & Abdullah, A. (2012). The Effects of Using Talent Management With Performance Evaluation System Over Employee Commitment. Social and Behavioral Sciences, 58, 340-349.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-06-30

How to Cite

เอื้ออารีสุขสกุล อ.; จันทึก ธ. การพัฒนาตัวแบบพหุระดับการจัดการคนเกง่เพื่อเสรมิสร้างสมรรถนะภาวะผู้นำเชิงรุกระดับหัวหน้างานในอุตสาหกรรมค้าส่งของไทย. RMUTT Global Business and Economics Review, Pathum Thani, Thailand, v. 11, n. 1, p. 200–214, 2016. Disponível em: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RMUTT-Gber/article/view/241985. Acesso em: 18 เม.ย. 2025.