ฉ้อโกงการซื้อขายออนไลน์

Main Article Content

อัจฉรา สิทธิบูรณาญา
นิราพร บุญพูล
อุมาพร สิทธิบูรณาญา
สิริมงคล จันทร์ดิษฐ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของการกระทำความผิดฐานฉ้อโกงซึ่งเกี่ยวกับการซื้อขายออนไลน์ จากสถานการณ์ที่ปรากฏตามข่าวในปัจจุบันพบว่าการฉ้อโกงการซื้อขายทางออนไลน์ มีการร้องเรียนเพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากลักษณะของการซื้อขายทางออนไลน์ที่ผู้ซื้อไม่สามารถเห็นสินค้าตัวจริงได้ หากมีการตกลงซื้อขายสินค้าจะต้องอาศัยความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกันเท่านั้น ในจุดนี้เองผู้กระทำความผิดจึงเห็นช่องทางและคิดวิธีการต่าง ๆ ขึ้นมาเพื่อใช้หลอกลวงประชาชนให้หลงเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นวิธีการหลอกลวงหรือปกปิดข้อความจริงเพื่อให้ส่งเงินหรือสินค้าให้แก่ตน และการหลอกลวงนี้อาจมาจากกลโกงของผู้ซื้อและผู้ขายได้ทั้งสิ้น ดังนั้นเพื่อให้รู้เท่าทันกลโกงของมิจฉาชีพจึงต้องศึกษาและวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการกระทำความผิดที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนจากการซื้อขายสินค้าทางออนไลน์พร้อมทั้งนำเสนอข้อแนะนำเพื่อเป็นประโยชน์กับประชนชน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2555). กฎหมายอาญาภาคความผิด เล่ม 3. (ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพ : กรุงสยาม พับลิชชิ่ง.

ข่าวสดออนไลน์. (2564). สาวเตือน ถูกหลอกขาย 'บอนสี' ปริ้นต์รูปแปะ ลงพันธุ์อื่นแบบง่าย ๆ สั่งออนไลน์ระวัง!.

ค้นเมื่อ ตุลาคม 20, 2564, จาก https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_6667719.

ข่าวสดออนไลน์. (2564). สาวพิการ อยากขับไปส่งลูกที่โรงเรียน สั่งซื้อจักรยานไฟฟ้า แต่ถูกหลอก. ค้นเมื่อ

ตุลาคม 22, 2564, จาก https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_6674676.

ช่องสามพลัส. (2564). สลดใจ เด็ก ม.2 โดนโกงซื้อมือถือเรียนออนไลน์ เครียดเส้นเลือดในสมองแตกเสียชีวิต.

ค้นเมื่อ กันยายน 2, 2564, จาก https://ch3plus.com/news/category/258562.

คณิต ณ นคร. (2553). กฎหมายอาญาภาคความผิด. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ : วิญญูชน.

คมชัดลึกออนไลน์. (2559). เตือนนักค้าออนไลน์ระวังมิจฉาชีพส่งสลิปโอนเงินปลอมลวง. ค้นเมื่อ กันยายน 1,

, จาก https://www.komchadluek.net/scoop/223895.

เดลินิวส์. (2561). ซิว"หนุ่มป.โท"อังกฤษสิ้นคิด ปลอมสลิปหลอกซื้อมือถือ. ค้นเมื่อ กันยายน 29, 2564,

จาก https://www.dailynews.co.th/crime/675481/.

จิตติ ติงศภัทิย์. (2553). กฎหมายอาญาภาค 2 ตอน 2 และภาค 3. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: เพชรรุ่ง.

ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (2564). คำอธิบายกฎหมายอาญา มาตรา 288-366/4. (ฉบับพิมพ์ครั้งเดียว). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

ไทยรัฐออนไลน์. (2564). ซิวหนุ่มแสบ ใช้เฟซฯ กว่า 20 บัญชี ตุ๋นขายสินค้าออนไลน์ เชิดเงินเหยื่อ. ค้นเมื่อ

กันยายน 17, 2564, จาก https://www.thairath.co.th/news/crime/2119396.

ไทยรัฐออนไลน์. (2564). แต่งหมอหลอกขายของออนไลน์ ก่อเหตุมา 10 ปี เพราะติดพนัน. ค้นเมื่อ กันยายน 17,

, จาก https://www.thairath.co.th/news/local/central/2099362.

ไทยรัฐออนไลน์. (2564). รวบแล้ว "อดีตพระเอก MV" หลอกตุ๋นออนไลน์ อ้างติดพนัน พบเหยื่ออื้อ. ค้นเมื่อ

ตุลาคม 14, 2564, จาก https://www.thairath.co.th/news/crime/2208106.

ปิยะพร ตันณีกุล. (2556). เอกสารประกอบการสอบรายวิชา อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา. นครปฐม:

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

ผู้จัดการออนไลน์. (2564). จับสาวแสบ อ้างตกงานช่วงโควิด โพสต์หลอกขายเครื่องใช้ไฟฟ้ามือสอง. ค้นเมื่อ

กันยายน 20, 2564, จาก https://mgronline.com/crime/detail/9640000046682.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). เผย 10 กลโกงซื้อขายออนไลน์แห่งปี 64 รู้ไว้! จะได้ไม่ตก

เป็นเหยื่อโจรไซเบอร์. ค้นเมื่อ กันยายน 15, 2564, จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/1212-OCC-Reveals-10-Online-Frauds.aspx.

สำนักงานส่งเสริมงานตุลาการ. (2513). คำพิพากษาฎีกาที่ 1867/2523. ค้นเมื่อ สิงหาคม 13, 2564, จาก https://deka.in.th/view-100943.html.

อัจฉรียา ชูตินันทน์. (2555). อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.